เกี่ยวกับเรา

 

ประวัติภาควิชาสรีรวิทยา
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

     ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประวัติศาสตร์คู่เคียงกับคณะสัตวแพทยศาสตร์อย่างแนบแน่น การจะกล่าวถึงประวัติของภาควิชาฯ จำเป็นต้องอ้างถึงประวัติของคณะฯ ด้วยเช่นกัน ในลำดับแรกนั้นแผนกวิชาอิสระสัตวแพทย์ที่เริ่มก่อตั้งในปี 2478 หลักสูตร 4 ปี ยังไม่มีการแบ่งเป็นแผนกวิชาย่อย (ภาควิชา) เนื่องจากยังคงไม่มีอาจารย์ประจำและมีนิสิตไม่มาก

     อย่างไรก็ตาม วิชาสรีรวิทยา เป็นวิชาด้านสัตวแพทย์ที่ถูกบรรจุไว้สำหรับนิสิตที่เรียนในปี 3 และ 4
     - ในปี พ.ศ. 2480 ซึ่งเป็นปีแรกของวิชาสัตวแพทย์ หรือปีที่ 3 ของนิสิตชุดแรกน่าจะไม่มีการสอนวิชาสรีรวิทยาเนื่องจากนิสิตชุดที่ 1 สอบได้ทุนไปเรียนต่างประเทศ 2 ท่าน และอีก 1 ท่านป่วย
     - นิสิตชุดที่ 2 ซึ่งเข้าเรียนเตรียมสัตวแพทย์ในปี พ.ศ. 2479 ไม่มีบันทึกประวัติใด และน่าจะยังไม่มีการสอนวิชาสรีรวิทยาในปี พ.ศ. 2481 เช่นกัน
     - นิสิตชุดที่ 3 เข้ามาเรียนเตรียมสัตวแพทย์ในปี พ.ศ. 2480 และจบเป็นนิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 1 (โดยเป็นหลักสูตร 5 ปี ในปี พ.ศ. 2482) ควรจะเป็นรุ่นแรกที่ได้เรียนวิชาสรีรวิทยา
     วิชาสรีรวิทยา ในหลักสูตรสัตวแพทย์ 5 ปี ในช่วงแรกทรงสอนโดย อ. พล.ต. ม.จ. ทองฑีฆายุ ทองใหญ่ (ทรงสอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 1-4/5 ในราวปี พ.ศ. 2482-2486) ในราวปี พ.ศ.2485/2486 การแบ่งแผนกวิชาและแต่งตั้งหัวหน้าแผนกวิชาได้เริ่มขึ้นเนื่องจากแผนกวิชาสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เลื่อนฐานะให้เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์     (มาริษศักดิ์.,2520)
     กล่าวย้อนถึงนิสิตชุดแรก (พ.ศ. 2478 มิใช่นิสิตรุ่นที่ 1) นายลำพูน ศศิบุตร์ ผู้สามารถสอบได้ทุนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์เพิ่มเติม ณ ประเทศอังกฤษนั้น ภายหลัง ศ. น.สพ. ลำพูน ศศิบุตร์ (ก่อนสำเร็จวิชาสัตวแพทย์ เนื่องจากอยู่ในช่วงเวลาสงครามโลกครั้งที่ 2) ได้กลับมาสอนวิชาสรีรวิทยาในปี พ.ศ 2486 จนถึง 2490 ซึ่งได้แก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 5-9 (หลังจากนั้นท่านอาจารย์ได้กลับไปศึกษาต่อจนสำเร็จและกลับมารับราชการสอนต่อโดยย้ายไปประจำที่ภาควิชาศัลยศาสตร์)
    ในปี พ.ศ 2491-2497 ศ. น.สพ. ม.จ. ปิยะรังสิต รังสิต ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากคณะสัตวแพทย ศาสตร์ มหาวิทยาลัยซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้ทรงสอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 10-14
   ในปี พ.ศ. 2492 ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ ได้เข้ารับราชการสังกัด แผนกสรีรวิทยาคณะสัตวแพทยศาสตร์ กรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
     และในปี พ.ศ. 2493 อ. น.สพ. พอ จินดาวนิค และ รศ. ภญ. สุพิศ จินดาวนิค ได้เข้ารับราชการสังกัด แผนกอิสระชีวเคมี คณะสัตวแพทยศาสตร์ (ซึ่งภายหลัง อ. น.สพ. พอ จินดาวนิคได้ย้ายกลับสถานที่ทำงานเดิม คงเหลือแต่ รศ. ภญ. สุพิศ จินดาวนิค เป็นอาจารย์ในแผนกอิสระชีวเคมี)
   ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ ได้ทุนไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอกที่มหาวิทยาลัยคอร์แนลล์ ประเทศสหรัฐอเมริกาและกลับมาทำการสอนวิชาสรีรวิทยาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498-2519 ในช่วงเวลา 21 ปี นี้ ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ สอนวิชาสรีรวิทยา ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิชาและได้ดำเนินการบรรจุอาจารย์ใหม่ในแผนกสรีรวิทยา จำนวน 5 ท่าน ได้แก่

          ปี พ.ศ. 2498 ศ. สพ.ญ. ประภา ลอยเพชร
          ปี พ.ศ. 2510 รศ. สพ.ญ. ดร. ดวงนฤมล ประชัญคดี         
          ปี พ.ศ. 2512 ศ. กิตติคุณ น.สพ. ดร. ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร
                              รศ. ดร. นิคม ชัยศิริ
                              ศ. มณีวรรณ กมลพัฒนะ
 

     อนึ่งในปี พ.ศ. 2510 คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้โอนย้ายมาสังกัดกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ในช่วงปี พ.ศ. 2519-2521 รศ. ภญ. สุพิศ จินดาวนิค ได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกสรีรวิทยา เนื่องจาก ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ ต้องไปดำรงตำแหน่งคณบดี ในปี พ.ศ. 2521-2528 ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ ได้กลับมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยาเช่นเดิม ในช่วงที่ 2 ของการดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาคนี้ ได้มีการบรรจุอาจารย์ใหม่อีก 1 ท่าน คือ ศ. สพ.ญ. ดร. ชลลดา บูรณกาล (ปี พ.ศ. 2527)

   หลังจากปี พ.ศ. 2528 อาจถือเป็นช่วงหลังของภาควิชาสรีรวิทยาเนื่องจากการบริหารงานและการวางแผนด้านกำลังคนได้เข้าที่เข้าทางแล้ว ในช่วงหลังนี้จึงมีลำดับของหัวหน้าภาควิชา 6 ท่านจนถึงปัจจุบัน และได้ดำเนินการบรรจุอาจารย์อีก 17 ท่าน เวลาประวัติของภาควิชาที่ไล่เรียงไว้ด้านล่างนี้  

ปี พ.ศ. 2478     แผนกวิชาสัตวแพทย์ หลักสูตร 4 ปี (เตรียมสัตวแพทย์ 2 ปี สัตวแพทย์ 2 ปี) ถือเป็นปีที่ 1 ของคณะสัตวแพทยศาสตร์
                       มีนิสิต 3 ท่าน
ปี พ.ศ. 2480     นิสิตปี 3 สอบไปเรียนต่อวิชาสัตวแพทยศาสตร์ ณ ต่างประเทศ (น.สพ. ลำพูน ศศิบุตร์ ทุนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชา
                        สัตวแพทยศาสตร์ ประเทศอังกฤษ)
ปี พ.ศ. 2481      หัวหน้าแผนกวิชาสัตวแพทยศาสตร์  ศ. พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์
ปี พ.ศ. 2481-2503    
                        คณบดีลำดับ แรก ศ. พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์
ปี พ.ศ. 2482      หลักสูตรสัตวแพทยศาสตร์จากเดิม 4 ปี เพิ่มเป็นหลักสูตร 5 ปี ตึกใหม่แผนกวิชาสัตวแพทย์ (รพ. ราชวิถี ปัจจุบัน)
ปี พ.ศ. 2482-2486    
                        อ. พล. ต. ม.จ. ทองฑีฆายุ ทองใหญ่ (ทรงสอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 1-4)
ปี พ.ศ. 2484     นิสิตสัตวแพทย์รุ่นแรกของหลักสูตร 5 ปี (จำนวน 8 ท่าน) สงครามมหาเอเชียบูรพา แผนกวิชาสัตวแพทย์ย้ายกลับมา
                        เรียนที่คณะเภสัชศาสตร์
ปี พ.ศ. 2485     กรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์(คณะแพทยศาสตร์, คณะทันตแพทยศาสตร์, คณะเภสัชศาสตร์
                        และคณะสัตวแพทยศาสตร์, 12 ปี)
นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่สองของหลักสูตร 5 ปี (จำนวน 12 ท่าน, น.สพ.มรว. ชนาญวัต
                        เทวกุล และ น.สพ. มนัส เกษแม่นกิจ)
ปี พ.ศ. 2486-2490    
                        ศ. น.สพ. ลำพูน ศศิบุตร์ (สอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 5-9)
ปี พ.ศ. 2491-2497    
                        ศ. น.สพ. ม.จ. ปิยะรังสิต รังสิต (ทรงสอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 10-14)
ปี พ.ศ. 2492     คณะสัตวแพทยศาสตร์ ย้ายสถานที่เรียนมาที่จุฬาซอย 12 (ถ. อังรีดูนังต์) นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 9 ของหลักสูตร 5 ปี
                        (จำนวน 3 ท่าน, ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์)
                        ศ. น. สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ รับราชการแผนกวิชาสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2493     อ. น.สพ. พอ จินดาวนิค อาจารย์พิเศษหน่วยชีวเคมี (ย้ายกลับที่ทำงานเดิม) รศ.ภญ. สุพิศ จินดาวนิค รับราชการหน่วย
                        ชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2497     คณะสัตวแพทยศาสตร์ ถูกโอนไปมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เรียนเตรียมสัตวแพทย์ 2 ปี ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                        เรียนสัตวแพทย์ 3 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ปี พ.ศ. 2498     นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 14 หลักสูตร 5 ปี (รับปริญญารุ่นแรก ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) (จำนวน 9 ท่าน, ศ. สพ.ญ.
                        ประภา ลอยเพชร และ รศ. สพ.ญ. ชวนพิศ โสภณหิรัญรักษ์)
                        ศ. สพ.ญ. ประภา ลอยเพชร รับราชการแผนกวิชาสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2498-2519     
                        ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์ (สอนสรีรวิทยาแก่นิสิตสัตวแพทย์รุ่นที่ 15-36)
ปี พ.ศ. 2503-2515     
                        คณบดีลำดับที่ สอง  ศ. น.สพ. เตียง ตันสงวน
ปี พ.ศ. 2510      คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะแพทศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์
                        ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2510)
                        รศ. สพ.ญ. ดร. ดวงนฤมล ประชัญคดี รับราชการแผนกวิชาสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2512      ศ. กิตติคุณ น. สพ. ดร. ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร รับราชการแผนกวิชาสรีรวิทยา
                        ศ. มณีวรรณ กมลพัฒนะ รับราชการแผนกวิชาชีวเคมี
                        รศ. ดร. นิคม ชัยศิริ รับราชการแผนกวิชาชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2515-2519     
                        คณบดีลำดับที่ สาม  ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์
ปี พ.ศ. 2519-2521     
                        หัวหน้าแผนกสรีรวิทยา  รศ. ภญ. สุพิศ จินดาวนิค
ปี พ.ศ. 2519-2523
                        
คณบดีลำดับที่ สี่ รศ. น.สพ. ดร. ประสิทธิ์ โพธิปักษ์
ปี พ.ศ. 2521-2528 
                         
หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา ศ. น.สพ. ดร. อายุส พิชัยชาญณรงค์
ปี พ.ศ. 2523-2531
                         
คณบดีลำดับที่ ห้า รศ. น.สพ. ระบิล รัตนพานี
ปี พ.ศ. 2527      ศ. สพ.ญ. ดร. ชลลดา บูรณกาล รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2528      รศ. สพ.ญ. ดร. มีนา สาริกะภูติ รับราชการหน่วยชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2528-2535
                         
หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา  ศ. สพ.ญ. ประภา ลอยเพชร
ปี พ.ศ. 2529       รศ. น.สพ. ดร. กฤษ อังคนาพร รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2531       ผศ. สพ.ญ. ดร. นารีรัตน์ วิเศษกุล รับราชการหน่วยชีวเคมี (ลาออก ปี 2537)
ปี พ.ศ. 2531-2539
                             คณบดีลำดับที่ หก   รศ. น.สพ. สงคราม เหลืองทองคำ
ปี พ.ศ. 2534     
 รศ. สพ.ญ. ดร. สุทธาสินี ปุญญโชติ รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2535       ผศ. น.สพ. ดร. สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
                          ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัตน์ รับราชการหน่วยชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2535-2539
                          หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา  ศ. กิตติคุณ น.สพ. ดร. ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร
ปี พ.ศ. 2538    
   รศ. สพ.ญ. ดร. สฤณี กลันทกานนท์ ทองทรง รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
                          รศ. น.สพ. ดร. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
                          รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล รับราชการหน่วยชีวเคมี
                          ผศ. น.สพ. ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยกุล รับราชการหน่วยชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2539       ผศ. สพ.ญ. ดร. จุฑามาส เบญจนิรัตน์ รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2539-2542 
                          คณบดีลำดับที่ ห้า (สมัยที่ สอง)  รศ. น.สพ. ระบิล รัตนพานี
ปี พ.ศ. 2539-2547 
                          หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา  รศ. สพ.ญ. ดร. ดวงนฤมล ประชัญคดี
ปี พ.ศ. 2541        อ. น.สพ. ดร. ทนง อัศวกาญจน์ รับราชการหน่วยชีวเคมี (ลาออก ปี 2556)
                          รศ. น.สพ. ดร. อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์ รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
                          ผศ. น.สพ. ดร. กิตติพงษ์ ทาจำปา รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2542-2548
                          คณบดีลำดับที่ เจ็ด
 ศ. น.สพ. ดร. ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร
ปี พ.ศ. 2546-2553 
 
                          หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา  รศ. น.สพ. ดร. กฤษ อังคนาพร
ปี พ.ศ. 2547       ผศ. สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์ รับราชการหน่วยชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2548-2552
                          คณบดีลำดับที่ แปด
  ศ. น.สพ. ดร. อรรณพ คุณาวงษ์กฤต
ปี พ.ศ. 2549       ผศ. สพ.ญ. ดร. ทรายแก้ว สัตยธรรม รับราชการหน่วยสรีรวิทยา
ปี พ.ศ. 2552-2556     
                          คณบดีลำดับที่ เก้า 
ศ. น.สพ. ดร. มงคล เตชะกำพุ
ปี พ.ศ. 2553-2561
                        
  หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา ผศ. น.สพ. ดร. สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ
ปี พ.ศ. 2556-2564 
                          คณบดีลำดับที่ สิบ 
  ศ. น.สพ. ดร. รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช
ปี พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน
                          หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา รศ. น.สพ. ดร. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ
ปี พ.ศ. 2562        อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา รับราชการหน่วยชีวเคมี
ปี พ.ศ. 2565-ปัจจุบัน 
                         
  คณบดีลำดับที่ สิบเอ็ด   ศ. สพ.ญ. ดร. สันนิภา สุรทัตต์

(ลำดับและปีพุทธศักราชของข้อมูลข้างต้น  อ้างอิงส่วนหนึ่งจากบรรณานุกรมและส่วนหนึ่งจากฝ่ายบุคคลของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ)
บรรณานุกรม
มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ ปทุมวัน เวชชสารสัตแพทย์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 101-106
   - 50 ปี สัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต
   - อายุศ พิชัยชาญณรงค์ อาจารย์ที่พวกเราระลึกถึง 


รายชื่อคณาจารย์ปัจจุบัน

  1. รศ. น.สพ. ดร. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ
  2. ศ. สพ.ญ. ดร. ชลลดา บูรณกาล
  3. รศ. น.สพ. ดร. กฤษ อังคณาพร
  4. รศ. สพ.ญ. ดร. สุทธาสินี ปุญญโชติ
  5. ผศ. น.สพ. ดร. สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ
  6. รศ. สพ.ญ. ดร. สฤณี กลันทกานนท์ ทองทรง
  7. รศ. น.สพ. ดร. อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์
  8. ผศ. สพ.ญ. ดร. จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์
  9. ผศ. น.สพ. ดร. กิตติพงษ์ ทาจำปา
10. ผศ. สพ.ญ. ดร. ทรายแก้ว สัตยธรรม
11. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์
12. ผศ. น.สพ. ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล
13. รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล
14. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศริยา อัศวกาญจน์
15. อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา

 หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยสรีรวิทยา
 หน่วยชีวเคมี   
 หน่วยชีวเคมี
 หน่วยชีวเคมี
 หน่วยชีวเคมี
 หน่วยชีวเคมี

 

 

 

 

บุคลากร

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. น.สพ. ดร.
สัมพันธ์ ธรรมเจริญ

รศ. น.สพ. ดร.
สัมพันธ์ ธรรมเจริญ

หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา

อีเมล : Sumpun.P@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189742

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ศ. สพ.ญ. ดร.
ชลลดา บูรณกาล

ศ. สพ.ญ. ดร.
ชลลดา บูรณกาล

อาจารย์

อีเมล : Chollada.B@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189530

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ศ. น.สพ. ดร.
กฤษ อังคนาพร

ศ. น.สพ. ดร.
กฤษ อังคนาพร

อาจารย์

อีเมล : Kris.A@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189744

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. สพ.ญ. ดร.
สุทธาสินี ปุญญโชติ

รศ. สพ.ญ. ดร.
สุทธาสินี ปุญญโชติ

อาจารย์

อีเมล : Sutthasinee.P@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189519

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. น.สพ. ดร.
สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ

ผศ. น.สพ. ดร.
สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ

อาจารย์

อีเมล : Suwanakiet.S@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189743

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. สพ.ญ. ดร. 
สฤณี กลันทกานนท์-ทองทรง

รศ. สพ.ญ. ดร.
สฤณี กลันทกานนท์-ทองทรง

อาจารย์

อีเมล : Sarinee.Ka@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189520

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. สพ.ญ. ดร.
จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์

ผศ. สพ.ญ. ดร.
จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์

อาจารย์

อีเมล : Chutamas.Be@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189529

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. น.สพ. ดร. 
กิตติพงษ์ ทาจำปา

ผศ. น.สพ. ดร.
กิตติพงษ์ ทาจำปา

อาจารย์

อีเมล : Kittipong.T@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189531

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. น.สพ. ดร.
อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์

รศ. น.สพ. ดร.
อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์

อาจารย์

อีเมล : Anusak.K@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189746

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. สพ.ญ. ดร.
ทรายแก้ว สัตยธรรม

ผศ. สพ.ญ. ดร.
ทรายแก้ว สัตยธรรม

อาจารย์

อีเมล : Saikaew.S@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189745

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
อ. สพ.ญ. ดร.
สุมนวรรณ แจ่มสุวรรณ

อ. สพ.ญ. ดร.
สุมนวรรณ แจ่มสุวรรณ

อาจารย์

อีเมล : sumonwan.c@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189740

 

 

 

 

 

 

นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ

นางสาว
ธนิดา นามพิมูล

นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ

อีเมล : Petcharat.N@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189740

 

 

 

 

 

 

เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ P7 

นาย
สิรภพ ศิริรัตน์

เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ P7 

อีเมล : siraphop.s@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189538

 

 

 

 

 

 

เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ P7

นางสาว
ประภัสสร ขำสาธร

เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ P7

อีเมล : Prapatson.K@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189740

 

 

 

 

 

 

วิศวกร

นาย
พันธกร พนาพิทักษ์กุล

วิศวกร

อีเมล : Pantagon.P@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189535

 

 

 

 

 

 

เจ้าหน้าที่สำนักงาน

นางสาว
รวีวรรณ เจนจำรัสพงศ์

เจ้าหน้าที่สำนักงาน

อีเมล : Rawewan.c@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189741

 

 

 

 

 

 

พนักงานทั่วไป 

นาย
บุญเชิด เหมือนแย้ม

พนักงานทั่วไป

อีเมล : ฺBooncherd.M@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189741

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาการสัตว์
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

Master of Science Program in Animal Physiology (M.Sc.)

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
รหัสหลักสูตร 4147 (แบบ ก1) สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรีทำวิจัยอย่างเดียว

รหัสหลักสูตร 4148 (แบบ ก2) สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
สำเร็จปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตหรือวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือเทียบเท่า

คะแนนภาษาอังกฤษ:  IELTS 4.0, TOEFL 450, or CU-TEP 45

โครงสร้างหลักสูตร


จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน
     รายวิชาบังคับ
     รายวิชาบังคับเฉพาะแขนง
     รายวิชาเลือก
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์

แบบ ก1
36
-
-
-
-
36

แบบ ก2
36
18
9
3
6
18

เปิดแขนงวิชา 2 แขนง
    แขนงวิชาสรีรวิทยา      ผู้เข้าศึกษามีคุณสมบัติตามรายละเอียดข้างต้น
    แขนงวิชาสัตว์ทดลอง   ผู้เข้าศึกษาต้องสำเร็จสัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต


หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาการสัตว์
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

Doctor of Philosophy Program in Animal Physiology (Ph.D.)

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
รหัสหลักสูตร 4149 (แบบ 1.1) และ 4151 (แบบ 2.1)
สำเร็จปริญญามหาบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือเทียบเท่า
รหัสหลักสูตร 4150 (แบบ 1.2)
สำเร็จปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือเทียบเท่า
ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และต้องมีผลงานตีพิมพ์
รหัสหลักสูตร 4152 (แบบ 2.2)
สำเร็จปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือเทียบเท่า
และมีผลการเรียนที่มีแต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่าระดับเกียรตินิยม

คะแนนภาษาอังกฤษ:  IELTS 5.5, TOEFL 525, or CU-TEP 67

คุณสมบัติอื่นๆ เป็นไปตามประกาศ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป
หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ รหัสหลักสูตร
4149 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท ทำวิจัยอย่างเดียว
4150 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี ทำวิจัยอย่างเดียว
4151 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
4152 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี

โครงสร้างหลักสูตร

 

แบบ 1.1

แบบ 1.2

แบบ 2.1

แบบ 2.2

 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 
 จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน
     -  รายวิชาบังคับ
     -  รายวิชาบังคับเฉพาะแขนง    
     -  รายวิชาเลือก
 จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์

48
-
-
-
-
48

72
-
-
-
-
72

48
12
2
4
6
36

72
24
9
3
12
48

 

 ขอบเขตงานวิจัย

Small Animal Nephrology
Small Animal Cardiology
Animal Behavior and welfare
Ruminant Physiology
Cardiovascular Physiology
Laboratory Animal Science
Neuroendocrinology
Lactation Physiology
Reproductive Physiology

วิชาบังคับ
3102723 สัมมนาสรีรวิทยาการสัตว์ 1 (Seminar in Animal Physiology I)
3102724 สัมมนาสรีรวิทยาการสัตว์ 2 (Seminar in Animal Physiology II)
3102738 วิธีวิทยาการวิจัยสรีรวิทยาการสัตว์ (Research Methodology in Animal Physiology)
3102739 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต (Master Thesis Seminar)
3102743 สรีรวิทยาการสัตว์ขั้นสูง (Advanced Animal Physiology)

แขนงวิชาสรีรวิทยา (Physiology)
3102737 สรีรวิทยาขั้นสูงของเซลล์สัตว์ (Advanced Animal Cell Physiology)
แขนงวิชาสัตว์ทดลอง (Laboratory Animal)
3102746 อายุรศาสตร์สัตว์ทดลอง 1 (Laboratory Animal Medicine I)
3102747 การฝึกปฏิบัติในสัตว์ทดลอง 1 (Laboratory Animal Practice I)

วิชาเลือก
กลุ่มวิชาสรีรวิทยา
3102705 สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบทางเดินอาหารในปศุสัตว์ (Advanced Physiology of Alimentary System in Livestock)
3102707 เมแทบอลิสมของแร่ธาตุในปศุสัตว์ (Mineral Metabolism in Livestock)
3102725 สรีรวิทยาขั้นสูงของการหลั่งน้ำนม (Advanced Physiology of Lactation)
3102726 การควบคุมอุณหภูมิและสรีรวิทยาสภาวะแวดล้อมในปศุสัตว์ (Thermoregulation and Environmental Physiology in Livestock)
3102731 สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบหัวใจและหลอดเลือดในสัตว์ (Advanced Animal Cardiovascular Physiology)  
3102732 สรีรวิทยาขั้นสูงของไตในสัตว์ (Advanced Animal Renal Physiology)
3102734 สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบประสาทและต่อมไร้ท่อในสัตว์ (Advanced Physiology in Neuroendocrine)
3102740 การใช้เครื่องมือเพื่อการวิจัย (Research Instrumentation)
3102741 ชีวเคมีขั้นสูงในสัตว์ (Advanced Animal Biochemistry)
3102742 เซลล์วิทยาทางการสัตวแพทย์ (Veterinary Cell Biology)
3102744 สรีรวิทยาไฟฟ้าขั้นสูง (Advanced Electrophysiology)
3102754 หลักการด้านพฤติกรรมสัตว์และการนำไปใช้ทางคลินิกในสัตว์เล็ก (Principles and clinical applications of small animal Behavior)
3102755 สรีรวิทยาการออกกำลังกายในสัตว์ขั้นสูง (Advanced animal exercise physiology)

กลุ่มวิชาสัตว์ทดลอง
3102748 อายุรศาสตร์สัตว์ทดลอง 2 (Laboratory Animal Medicine II)
3102749 การฝึกปฏิบัติในสัตว์ทดลอง 2 (Laboratory Animal Practice II)
3102750 หลักการ จรรยาบรรณและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ทดลอง (Laboratory Animal Principles, Ethics and Laws)
3102751 การบริหารจัดการสถานที่เลี้ยงและใช้สัตว์ทดลอง (Laboratory Animal Facility Management)
3102752 การจัดการความเจ็บปวดในสัตว์ทดลอง (Laboratory Animals Pain Management)
3102753 โมเดลสัตว์ทดลองเพื่อการศึกษาพฤติกรรม (Animal Models of Behavioral Disorders)

รศ. น.สพ. ดร. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ

งานวิจัย รศ. น.สพ. ดร. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ

ผลงานทางวิชาการ

     1. งานวิจัย

                • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Suwannapaporn, P., Chaiyabutr, N., Wanasuntronwong, A., and Thammacharoen, S. Arcuate proopiomelanocortin is part of a novel neural connection for short-term low-degree of high ambient temperature effects on food intake. Behav. 2022. 245, 113687.
      2. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., and Katoh, K. Low colostrum immunoglobulin G concentration in Saanen dams with seropositive to caprine arthritis encephalitis virus infection without affecting kid growth rate. Thai J Vet Med. 52(1): 116-120.
      3. Thiet, N., Van Hon, N., Ngu, N.T., and Thammacharoen, S. Effects of high salinity in drinking water on behaviors, growth, and renal electrolyte excretion in crossbred Boer goats under tropical conditions.  World. 2022. 15(4): 834-840.
      4. Nuntapaitoon, M., Buranakarl, C., Thammacharoen, S., and Katoh, K. Growth performance of Black Bengal, Saanen, and their crossbred F1 as affected by sex, litter size, and season of kidding. Anim. Sci. 2021. J.92:e13571.
      5. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., and Katoh, K. Impact of insulin-like growth factor 1, immunoglobulin G and vitamin A in colostrum on growth of newborn Black Bengal goats and its crossbred. J AnimPhysiolAnimNutr. 2021. 1-8.
      6. Chaiyabutr, N., Sitprija, S., Chanpongsang, S., and Thammacharoen, S. Exogenous bovine somatotropin and mist-fan cooling synergistically promote the intramammary glucose transport for lactose synthesis in crossbred Holstein cows in the tropics.  World. 2021. 14(5): 1247-1257.
      7. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., Dissayabutra, T., and Katoh, K. Effects of litter size and parity number on mammary secretions including, insulin-like growth factor-1, immunoglobulin G and vitamin A of black bengal, saanen and their crossbred goats in Thailand. Vet. Sci. 2021. 8(6): 95.
      8. Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., Panyasomboonying, P., Khundamrongkul, P., Puchongmar, P., and Wichachai, W. Seasonal effect of milk yield and blood metabolites in relation to ketosis of dairy cows fed under a high ambient temperature. World. 2021. 14(9): 2392-2396.
      9. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Nuntapaitoon, M., Semsirmboon, S., and Katoh, K. Validation of Brix refractometer to estimate immunoglobulin G concentration in goat colostrum. World. 2021. 14(12): 3194-3199.
      10. Thammacharoen, S., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., Teedee, S., Pornprapai, A., Insam-Ang, A., Srisa-Ard, C., and Channacoop, N. An analysis of a herd-based lactation curve reveals the seasonal effect from dairy cows fed under high ambient temperatures. Thai J Vet Med. 2020. 50(2): 169-178.
      11. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., and Katoh, K. Effects of replacement of para-grass with oil palm compounds on body weight, food intake, nutrient digestibility, rumen functions and blood parameters in goats. Asian Austral J Anim. 2020. 33(6): 921-929.
      12. Nguyen, T., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., andThammacharoen, S. Effects of dietary cation and anion difference on eating, ruminal function and plasma leptin in goats under tropical condition. Asian Austral J Anim. 33(6): 941-948.
      13. Saipin, N., Thuwanut, P., Thammacharoen, S., and Rungsiwiwut, R. Effect of incubation temperature on lactogenic function of goat milk-derived mammary epithelial cells. In Vitro Cell Dev Biol Anim. 2020. 56(10): 842-846.
      14. Saipin, N., Semsirmboon, S., Rungsiwiwut, R., and Thammacharoen, S. High ambient temperature directly decreases milk synthesis in the mammary gland in Saanen goats. Therm. Biol. 2020. 94,102783.
      15. Nguyen, T., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., and Thammacharoen, S. The effect of dietary ions difference on drinking and eating patterns in dairy goats under high ambient temperature. Asian-Australas J Anim Sci. 2019. 32(4): 599-606.
      16. Likitnukul, S., Kalandakanond-Thongsong, S., and Thammacharoen, S. Evidence of growth hormone effect on plasma leptin in diet-induced obesity and diet-resistant rats. Asian Biomed. 2019. 12(5): 219-228.
      17. Nguyen, T., Chaiyabutr, N., Chanpongsang, S., and Thammacharoen, S. Dietary cation and anion difference: Effects on milk production and body fluid distribution in lactating dairy goats under tropical conditions. Animal Science Journal. 2018. 89(1): 105-113.

               •  รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์

      1. Semsirmboon, S., Nampimoon, T., Sirirut, S., Tikeaw, W. and Thummacharoen, S.
        A retrospective study:field evaluation of gastrointestinal nematode control in goat farm. Thai J Vet Med. 2020. 50 : 227-229.
      2. Semsirmboon, S., Nampimoon, T., Sirirut, S., Tikeaw, W. and Thummacharoen, S. A retrospective study field evaluation of gastrointestinal coccidian in goat farm. Thai J Vet Med. 2020. 50: 230-232.
      3. Anuru, K., Semsirmboon, S., and Thummacharoen, S. A retrospective study: the evidence of seasonal effect on piglet growth. Proceedings of CUVC 2021 Live. live steaming bangkok. April 2021. Thai J Vet Med. 51: 287-289.
      4. Do Nguyen Dang, K., Semsirmboon, S., Chayabutr, N., and Thammacharoen, S. Low dietary cation-anion difference induces water reservation in dairy goats raised under tropical conditions. Proceedings of CUVC 2022 Live. Online Zoom platform bangkok. April 2022. Thai J Vet Med. 2022. 52: 131-133.

     2. หนังสือ

      1. สัมพันธ์ ธรรมเจริญ. ต่อมน้ำนมและการให้นม The mammary gland and lactation. ครั้งที่ 1. 2565.

ศ.สพ.ญ.ดร. ชลลดา บูรณกาล

งานวิจัย ศ.สพ.ญ.ดร.ชลลดา บูรณกาล

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

              • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., and Katoh, K. Low colostrum immunoglobulin G concentration in Saanen dams with seropositive to caprine arthritis encephalitis virus infection without affecting kid growth rate. Thai J Vet Med. 2022. 52(1): 116-120.
      2. Bhamarasuta, C., Premratanachai, K., Mongkolpinyopat, N., Yothapand, P., Vejpattarasiri, T., Dissayabutra, T., Trisiriroj, M., Sutayatram, S., and Buranakarl, C. Iron status and erythropoiesis response to darbepoetin alfa in dogs with chronic kidney disease. J Vet Med Sci. 2021. 83(4):601-608.
      3. Nuntapaitoon, M., Buranakarl, C., Thammacharoen, S., and Katoh, K. Growth performance of Black Bengal, Saanen, and their crossbred F1 as affected by sex, litter size, and season of kidding. Anim Sci J. 2021. 92(1):e13571.
      4. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., and Katoh, K. Impact of insulin-like growth factor 1, immunoglobulin G and vitamin A in colostrum on growth of newborn Black Bengal goats and its crossbred. J Anim Physiol Anim Nutr. 2021. 1–8.
      5. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., Dissayabutra, T., and Katoh, K. Effects of litter size and parity number on mammary secretions including, insulin-like growth factor-1, immunoglobulin G and vitamin A of black bengal, saanen and their crossbred goats in Thailand. Sci. 2021. 8(6):95.
      6. Chamsuwan, S., Angkanaporn, K., Dissayabutra, T., Chuaypen, N., and Buranakarl, C. The association between single nucleotide polymorphism in vitamin D receptor and calcium oxalate urolithiasis in dogs. J Vet Intern Med. 2021. 35(5): 2263-2270. 
      1. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Nuntapaitoon, M., Semsirmboon, S., and Katoh, K. Validation of Brix refractometer to estimate immunoglobulin G concentration in goat colostrum.Vet. World. 2021. 14(12): 3194-3199.
      2. Sannamwong, N., Sutayatram, S., Chaivoravitsakul, N., Teewasutrakul, P., Kesdangsakonwut, S., and Buranakarl, C. Systemic aspergillosis involving the mediastinu associated with antifungal therapy in a dog. Thai J Vet Med. 2021. 51(3): 613-620.
      3. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal ultrasonographic strain elastography and symmetric dimethylarginine (Sdma) in canine and feline chronic kidney disease. J.Med. Sci. 2020. 82(8): 1104-1112.
      4. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal ultrasonographic shear-wave elastography and urinary procollagen type III amino-terminal propeptide in chronic kidney disease dogs. Vet world. 2020. 13(9): 1955-1965.
      5. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., and Katoh, K. Effects of replacement of para-grass with oil palm compounds on body weight, food intake, nutrient digestibility, rumen functions and blood parameters in goats. Asian Austral J Anim. 2020. 33(6): 921-929.
      6. Trikhun, P., Surachetpong, S.D., Sutayatram, S., and Buranakarl, C. Left ventricular systolic function in dogs with pulmonic stenosis. World. 2020. 13(11): 2436-2442.
      7. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal shear wave elastography and urinary procollagen type III amino-terminal propeptide (uPIIINP) in feline chronic kidney disease. BMC Vet Res. 15(1): 54.
      8. Sutayatram, S., Buranakarl, C., Kijtawornrat, A., Soontornvipart, K., Boonpala, P., and Pirintr, P. The effects of submaximal exercise training on cardiovascular functions and physical capacity in dogs with myxomatous mitral valve disease. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 433-441.
      9. Tachampa, K., Lertwanakarn, T., Atchariyasakchai, P., Pumpitakkul, V., Kireewan, S., and Buranakarl, C. Effects of coenzyme Q10 supplementation on cardiac troponin i level, heart rate variability, and echocardiographic profiles in canine with myxomatous degenerative mitral valve disease: A pilot study. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 443-452.

ศ.น.สพ.ดร. กฤษ อังคนาพร

งานวิจัย ศ.น.สพ.ดร.กฤษ อังคนาพร

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

              • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Angkanaporn, K., Sanguanwai, J., Baiyokvichit, T.O., Vorrachotvarittorn, P., Wongsompong, M., and Sukhumavasi, W. Retrospective analysis of canine monocytic ehrlichiosis in Thailand with emphasis on hematological and ultrasonographic changes. World. 2022. 15(1): 1-9.
      2. Thuekeaw, S., Angkanaporn, K., and Nuengjamnong, C. Microencapsulated basil oil (Ocimumbasilicum Linn.) enhances growth performance, intestinal morphology, and antioxidant capacity of broiler chickens in the tropics. AnimBiosci. 2022. 35(5):752-762.
      3. Thuekeaw, S., Angkanaporn, K., Chirachanchai, S., and Nuengjamnong, C. Dual pH responsive via double - layered microencapsulation for controlled release of active ingredients in simulated gastrointestinal tract: A model case of chitosan-alginate microcapsules containing basil oil (Ocimumbasilicum Linn.). Polym.Stab. 2021. 191,109660.
      4. Chamsuwan, S., Angkanaporn, K., Dissayabutra, T., Chuaypen, N., and Buranakarl, C. The association between single nucleotide polymorphism in vitamin D receptor and calcium oxalate urolithiasis in dogs. J Vet Intern Med. 35(5): 2263-2270.
      5. Chaivoravitsakul, N., Chankow, K., Horoongruang, K., Limpongsai, L., Tantarawanich, A., Pluemhathaikij, L., Rattanapinyopituk, K., and Angkanaporn, K. Comparison of fine-needle cytologic diagnosis between the left and right liver lobes of dogs and cats with diffuse liver disease. Vet World. 2021. 14(10): 2670-2677.
      6. Jamjang, C., Kijpakorn, S., and Angkanaporn, K. Effect of dietary inclusion of gynuradivaricata (L.) on growth performance, hematology, and carcass fat deposition in broilers. Poult. Sci. 2020. 57(2): 114-123.
      7. Vimon, S., Angkanaporn, K., and Nuengjamnong, C. Evaluation of dietary probiotic (Bacillus subtilis KMP-BCP-1 and Bacillus licheniformis KMP-9) supplementation and their effects on broiler chickens in a tropical region. Appl. Anim. Res. 2020. 48(1): 365–371.
      8. Donkotjan, C., Benjanirut, C., and Angkanaporn, K. Effect of Thunbergia laurifolia leaves on the growth performance, nutrient digestibility and liver antioxidant enzymes of broilers fed mycotoxin-contaminated feed. Prod. Sci. 2020. 60(16); 1885-1893.
      9. Sooksong, S., Pirarat, N., and Angkanaporn, K. Omega-3 fatty acids and meloxicam supplementation and the incidence and histopathological changes associated with femoral head syndrome in broilers. AnimProduc Sci. 59(5): 945-953.
      10. Areerob, P., Dahlan, W., and Angkanaporn, K. Dietary crude palm oil supplementation improves egg quality and modulates tissue and yolk Vitamin E concentrations of laying hen. AnimProduc Sci. 2019. 59(8): 1491-1500.
      11. Tesena, P., Yingchutrakul, Y., Roytrakul, S., Taylor, J., Angkanaporn, K., and Wongtawan, T. Searching for serum protein markers of equine squamous gastric disease using gel electrophoresis and mass spectrometry. Equine Veterinary Journal. 51(5): 581-586.
      12. Tesena, P., Yingchutrakul, Y., Roytrakul, S., Wongtawan, T., and Angkanaporn, K. Serum protein expression in equine glandular gastric disease (Eggd) induced by phenylbutazone. J Vet Med Sci. 2019. 81(3): 418-424.
      13. Lammasak, K., Kijparkorn, S., and Angkanaporn, K. Corrigendum: Porcine bile powder supplementation of a high fat broiler diet in relation to growth performance and nutrient digestion. Animal Production Science. 2019. 59(7): 1399.
      14. Lammasak, K., Kijparkorn, S., and Angkanaporn, K. Porcine bile powder supplementation of a high fat broiler diet in relation to growth performance and nutrient digestion. AnimProduc Sci. 59(7): 1310-1317.
      15. Nuengjamnong, C. and Angkanaporn, K. Efficacy of dietary chitosan on growth performance, haematologicalparameters and gut function in broilers. Italian Journal of Animal Science. 2018. 17(2): 428-435.
      16. Satitpornniwat, A., Kanokbodeevanit, N., Issariyakulkarn, N., Buasai, W., Angkanaporn, K., and Ritthikulprasert, S. Accuracy of blood beta-hydroxybutyrate and plasma acetoacetate for diagnosis of canine diabetic ketoacidosis. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(2): 219-225.
      17. Sayan, H., Assavacheep, P., Angkanaporn, K., and Assavacheep, A. Effect of Lactobacillus salivarius on growth performance, diarrhea incidence, fecal bacterial population and intestinal morphology of suckling pigs challenged with F4+ enterotoxigenic Escherichia coli. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences. 2018. 31(8): 1308-1314.
      18. Benjanirut, C., Wongsangchan, C., Setthawong, P., Pradidtan, W., Daechawattanakul, S., and Angkanaporn, K. Prevalence and risk factors for canine cognitive dysfunction syndrome in Thailand. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 453-461.
    • รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์
      1. RizkyRiadini, A., Assavacheep, P., Angkanaporn, K., and Assavacheep, A. Effect of dietary microencapsulated organid acids and essential oils on sow performances. Proceedings of CUVC 2021 Live. live steaming bangkok. April 2021. Thai J Vet Med. 51: 249-250.
      2. Supchukun, K., Angkanaporn, K., Yata, T. and Israsena na Ayudhaya, P. Customer Insight-led Nutraceutical’s Product Innovation Development. Proc. 38th IBIMA Conference on 23-24 November 2021 Seville, Spain. (ISBN: 978-0-9998551-7-1) and (ISSN: 2767-9640), USA.
      3. Chamsuwan, S., Angkanaporn, K., Dissayabutra, T., Chuaypen, N., Buranakarl, C Urinary proteomic study in hypercalciuric Pomeranian dogs with and without calcium oxalate urolithiasis. Proc. World Small Animal Veterinary Association 2021 congress. 13-15 November 2021.

รศ.สพ.ญ.ดร. สุทธาสินี ปุญญโชติ

งานวิจัย รศ.สพ.ญ.ดร.สุทธาสินี ปุญญโชติ

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Rukarcheep, D., Lothong, M., Wattanaphansak, S., Deachapunya, C., and Poonyachoti, S. Porcine reproductive and respiratory syndrome virus induces tight junction barrier dysfunction and cell death in porcine glandular endometrial epithelial cells. Theriogenology. 2022. 185: 34-42.
      2. Chayalak, W., Deachapunya, C., Suksamran, S., and Poonyachoti, S. Hydroxyxanthone ameliorates IL1 β-induced epithelial barrier disruption in colonic-like cells by down-regulation of p-MLC expressions. Funct. Foods. 2021. 87: 104814.
      3. Lothong, M., Wattanaphansak, S., Deachapunya, C., and Poonyachoti, S. Porcine reproductive and respiratory syndrome virus (PRRSV) preferentially infected the apical surface of primary endometrial cell monolayer. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2019. 49(4): 401–413.

 

ผศ.น.สพ.ดร. สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ

งานวิจัย ผศ.น.สพ.ดร.สุวรรณเกียรติ สว่างคุณ

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Boonhoh, W., Kijtawornrat, A. and Sawangkoon, S. Comparative effects of amiodarone and dronedarone treatments on cardiac function in a rabbit model. Vet World. 2019. 12(2): 345-351.

 

 

รศ.สพ.ญ.ดร. สฤณี กลันทกานนท์ ทองทรง

งานวิจัย รศ.สพ.ญ.ดร.สฤณี กลันทกานนท์ ทองทรง 

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Likitnukul, S., Thammacharoen, S., Kalandakanond-Thongsong, S., Sriwatananukulkit, O., Hemstapat, R., Pinthong, D. The Effect of the Short‐Term Growth Hormone Administration on Non‐Alcoholic Fatty Liver Disease in Diet‐Induced Obesity Models. The FASEB Journal. 2020. 34. 1-1.
      2. Thongsong, B., Suthongsa, S., Pichyangkura, R., and Kalandakanond-Thongsong, S. Effects of chito-oligosaccharide supplementation with low or medium molecular weight and high degree of deacetylation on growth performance, nutrient digestibility and small intestinal morphology in weaned pigs. Livestock Science. 2019. 209: 60-66.
      3. Thongsong, B., Wiyaporn, M., and Kalandakanond-Thongsong, S. Blood glucose, amino acid profiles and nutrient transporter gene expressions in the small intestine of low and normal birthweight piglets during the early suckling period. Vet J. 2019. 247: 1-7.
      4. Likitnukul, S., Kalandakanond-Thongsong, S., and Thammacharoen, S. Evidence of growth hormone effect on plasma leptin in diet-induced obesity and diet-resistant rats. Asian Biomed. 2019. 12(5): 219-228.

 

 

 

ผศ.สพ.ญ.ดร. จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์

งานวิจัย ผศ.สพ.ญ.ดร.จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

    1. Donkotjan, C.,Benjanirut, C.and Angkanaporn, Kris. Effect ofThunbergialaurifolialeaves on the growth performance, nutrient digestibility and liver antioxidant enzymes of broilers fed mycotoxin-contaminated feed. Prod. Sci. 2020. 60(16): 1885-1893.
    2. Benjanirut, C., Wongsangchan, C., Setthawong, P., Setthawong, P., Pradidtan, W., Daechawattanakul, S. and Angkanaporn, K. Prevalence and risk factors for canine cognitive dysfunction syndrome in Thailand. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 453-461.
    3. Buranakarl, C., Sutayatram, S., Benjanirut, C. and Glangosol, P. ECG quiz. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(2): 317-318.
    4. Buranakarl, C., Sutayatram, S., Benjanirut, C. and Glangosol, P. ECG quiz. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(1): 129-130.
  • รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์
    1. Chatdarong, K., Benjanirut, C., Navanukraw, P., Techangamsuwan, S., Torvorapanit, , Putcharoen, O. and Ruxrungtham, K. Dogs detect asymptomatic COVID-19 patients. Proceedings of CUVC 2021 Live. live steaming bangkok. April 2021. Thai J Vet Med.  51: 57-59.

ผศ.น.สพ.ดร. กิตติพงษ์ ทาจำปา

งานวิจัย ผศ.น.สพ.ดร.กิตติพงษ์ ทาจำปา

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Romano, BK., Lertwanakarn, T. and Tachampa, K. Novel Approach to Assess Cardiac Function Using Systolic Performance and Myocardial Performance Indices From Simultaneous Electrocardiography and Phonocardiography Recordings in Dogs With Various Stages of Myxomatous Mitral Valve Disease. Front. Vet. Sci. 2021. 8: 741115.
      2. Lertwanakarn, T.,Suntravat, M., Sánchez, E.,Wolska, M. B.,SolaroR, J.,Tombe, P., de, P. and Tachampa, K. Negative inotropic mechanisms of b-cardiotoxin in cardiomyocytes by depression of myofilament ATPase activity without activation of the classical b--adrenergic pathway. Sci. Rep. 2021. 11: 21154.
      3. Lertwanakarn, T., Suntravat, M., Sanche, E E., Boonhoh, W., Solaro, J R., Wolska, M B., Martin, L J., Tombe, de P. and Tachampa, K. Suppression of cardiomyocyte functions by β-CTX isolated from the Thai king cobra (Ophiophagus hannah) venom via an alternative method. J Venom Anim Toxins incl Trop Dis. 2020. 26: e20200005.
      4. Tachampa, K. and Wongtawan, T. Unique patterns of cardiogenic and fibrotic geneexpression in rat cardiac fibroblasts. World. 2020. 13(8): 1697-1708.
      5. Lertwanakarn, T., Suntravat, , Sanchez, E E., Wolska, BM., Solaro, JR., de, Tombe P. and  Tachampa, K. Beta-cardiotoxin, a Novel Compound From King Cobra Venom, Suppresses Cardiac Function via Non-Beta-Adrenergic Pathway. Toxicon. 2020. 177: S58. 
      6. Tachampa, K., Lertwanakarn, T., Atchariyasakchai, P., Pumpitakkul, V., Kireewan, S., and Buranakarl, C. Effects of coenzyme Q10 supplementation on cardiac troponin i level, heart rate variability, and echocardiographic profiles in canine with myxomatous degenerative mitral valve disease: A pilot study. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 443-452.

            • รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์

      1. Lertwanakarn T, Suntravat M, Sanchez E. E, Wolska M B, Solaro J R, Tombe D P and Tachampa K Beta-cardiotoxin, A novel compound from king cobra venom, suppresses cardiac function via non-beta-adrenergic pathway. Toxicon. 177: S23-S63.
      2. Gicana K R, Lertwanakarn T and Tachampa K Use of a novel device to estimate cardiac function in healthy dogs. Thai J Vet Med. 2020. 50: 164-165.
      3. Gallini, SH., Digeronimo, PM., Ward, E., Tachampa, K., Thepapichaikul, W., Di, Girolamo, N. and Brandao, J. Cardiac troponin I in Asian elephants (elehas maximus) measured by two point-of-care analysers. Zoo and wildlife health conference. 2020.
      4. angpakornsak, T., Thanaboonnipat, C., Tachampa, K. and Choisunirachon, N. Morphological variations of thoracic vertebral and intervertebral space in 5 dog breeds: a preliminary study. Proceedings of CUVC 2022 Live. online Zoom platform bangkok. 2022. Thai J Vet Med. 52: 49-50.
      5. Tangpakornsak, T., Thanaboonnipat, C., Tachampa, K. and Choisunirachon, N. Morphological variations of thoracic vertebral and intervertebral space in 5 dog breeds: a preliminary study. Thai J Vet Med. 2022. 52: 49-50.

 

 

รศ.น.สพ.ดร. อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์

งานวิจัย รศ.น.สพ.ดร.อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Mongkolpathumrat, P.Kijtawornrat, A.Suwan, E., Unajak, S., Panya, A., Pusadee, T. and Kumphune, S. Anti-Protease Activity Deficient Secretory Leukocyte Protease Inhibitor (SLPI) Exerts Cardioprotective Effect against Myocardial Ischaemia/Reperfusion. Biomedicines. 2022. 10(5):988.
      2. Dong, V.N.K.Tantisuwat, L.Setthawong, P., Tharasanit, T.,Sutayatram, S., and Kijtawornrat, A. The Preliminary chronic effects of electromagnetic radiation from mobile phones on heart rate variability, cardiac functions, blood profiles, and semen quality in healty dogs. Vet. Sci. 2022. 9: 201.
      3. Boonyarattanasoonthorn, T., Kijtawornrat, A,, Songvut, P., Nuengchamnong, N., Buranasudja, V. and Khemawoot, P, Increase water solubility of Centella asiatica extract by indigenous bioenhancers could improve oral bioavailability and disposition kinetics of triterpenoid glycosides in beagle dogs. Sci. Rep. 2022. 12(1): 2909.
      4. Saengklub, N., Boonyarattanasoonthorn, T., Kijtawornrat, A. and Chantarart, D. Preliminary Bioequivalence of an Oral Pimobendan Solution Formulation with Reference Solution Formulation in Beagle Dogs. Vet. Sci. 2022. 9: 141.
      5. Boonyarattanasoonthorn, T., Khemawoot, P. and Kijtawornrat, A. Comparing Potential Drug–Drug Interactions in Companion Animal Medications Using Two Electronic Databases. Sci. 2021. 8(4):60.
      6. Mongkolpathumrat, P., Kijtawornrat, A., Prompunt, E., Panya, A., Chattipakorn, N.,
        BarrèreLemaire, S. and Kumphune, S. Post-ischemic treatment of recombinant human secretory leukocyte protease inhibitor (Rhslpi) reduced myocardial ischemia/reperfusion injury. Biomedicines. 9(4): 422.
      1. Thitiwuthikiat, P., Kijtawornrat, A., Ruangpratheep, C., Nuamchit, T. and Siriwittayawan, D. Alterations in pore-forming subunits of adenosine triphosphate-sensitive potassium channels in pressure overload rat cardiomyocytes. Physiol.Pharmacol. 2021. 72(2) :283-290.
      2. Saengklub, N., Pirintr, P., Nampimoon, T., Kijtawornrat, A. and Chaiyabutr, N.
        Short-Term Effects of Sacubitril/valsartan on Echocardiographic Parameters in Dogs With Symptomatic Myxomatous Mitral Valve Disease.Front. Vet. Sci. 2021. 8: 700230.
      3. Pichayapaiboon, P., Tantisuwat, L., Boonpala, P., Saengklub, N., Boonyarattanasoonthorn, T., Khemawoot, P. and Kijtawornrat, A. Pharmacodynamics and Pharmacokinetics of Injectable Pimobendan and Its Metabolite,O-Desmethyl-Pimobendan, in Healthy Dogs. Front. Vet. Sci. 2021. 8: 656902.
      4. Phungphong, S.Kijtawornrat, A.,Wattanapermpool, J.Bupha-Intr, T. Improvement in cardiac function of ovariectomized rats by antioxidant tempol. Free Radic. Biol. Med.  160:239–245.
      5. Phungphong, S., Kijtawornrat, A., Kampaengsri, T., Wattanapermpoo, J. and Bupha-Intr, T. Comparison of exercise training and estrogen supplementation on mast cellmediated doxorubicin-induced cardiotoxicity. Am J PhysiolRegulIntegr Comp Physiol. 2020. 318: R829–R842.
      6. Boonhoh, W.Kijtawornrat, A. and Sawangkoon, S. Comparative effects of amiodarone and dronedarone treatments on cardiac function in a rabbit model. Vet World. 12(2):345–351.
      7. Jitmana, R.Raksapharm, S.Kijtawornrat, A.Saengsirisuwan, V. and Bupha-Intr, T. Role of cardiac mast cells in exercise training-mediated cardiac remodeling in angiotensin II-infused ovariectomized rats. Life Sciences. 219:209–218.
      8. Phungphong, S.Kijtawornrat, A.,Kampaengsri, T.Wattanapermpool, J. and Bupha-Intr, T. Comparison of exercise training and estrogen supplementation on mast cellmediated doxorubicin-induced cardiotoxicity. J. Physiol. Regul. Integr. Comp. Physiol. 2019. 318(5):R829–E842.
      9. Sanit, J., Prompunt, E., Adulyaritthikul, P., Nokkaew, N., Mongkolpathumrat, P., Kongpol, K., Kijtawornrat, A., Petchdee, S., Barrere-Lemaire, S. and Kumphune, S. Combination of metformin and p38 MAPK inhibitor, SB203580, reduced myocardial ischemia/reperfusion injury in non-obese type 2 diabetic Goto-Kakizaki rats. Exp Ther Med. 2019. 18(3): 1701-1714.
      10. Limprasutr, V.Pirintr, P.Kijtawornrat, A. andHamlin, R.L. An increasing electromechanical window is a predictive marker of ventricular fibrillation in anesthetized rabbit with ischemic heart.  Anim. 2018. 67(2):175–183.
      11. Pirintr, P.Limprasutr, V.Saengklub, N., Pavinadol,P., Yapao, N., Limvanicharat, N., Kuecharoen, H. and Kijtawornrat, A. Acute effect of ivabradine on heart rate and myocardial oxygen consumption in dogs with asymptomatic mitral valve degeneration. Exp Anim. 2018. 67(4):441-449.
      12. Pirintr, P.Saengklub, N.Limprasutr, V. and Kijtawornrat, A. Long-term effects of repeated oral dose of ivabradine on heart rate variability in dogs with asymptomatic degenerative mitral valve disease. Thai J Vet Med. 2018. 48(3): 423–431.
      13. Sutayatram, S., Buranakarl, C., Kijtawornrat, A., Soontornvipart, K., Boonpala, P. and Pirintr, P. The effects of submaximal exercise training on cardiovascular functions and physical capacity in dogs with myxomatous mitral valve disease. Thai J Vet Med. 2018. 48(3): 433-441.
    • รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์
      1. Pichayapaiboon, P., Tantisuwat, L., Boonpala, P., Saengklub, N., Boonyarattanasoonthorn, T., Khemawoot, P. and Kijtawornrat, A. Pharmacokinetic profiles of injectable pimobendan and its active metabolite, o-desmethyl-pimobendan in healthy dogs. Proceedings of CUVC 2021 Live. live steaming bangkok. April 2021. Thai J Vet Med. 51: 96-98.
      2. Dong, V.N.K., Nitsakulthong, C., Duangbupha, J., Limprasutr, V., Saengklub, N., Kijtawornrat, A. Age-related Changes of Heart Rate Variability in Response to Beta-adrenergic Receptor Blocker in Healthy Beagle Dogs. Proceeding of Joint Physiological Pharmacological Society Conference: JPPSC-
      3. Boonyarattanasoonthorn, T., Nitsakulthong, C., Duangbupha, J., Limprasutr, V., Saengklub, N., Kijtawornrat, A. Age-related Changes in Pharmacokinetic Profile of Pimobendan and Its Active Metabolite, O-desmethyl Pimobendan, in Healthy Beagle Dogs. Proceeding of Joint Physiological Pharmacological Society Conference: JPPSC-2022.

 

 

 

ผศ.สพ.ญ.ดร. ทรายแก้ว สัตยธรรม

งานวิจัย ผศ.สพ.ญ.ดร.ทรายแก้ว สัตยธรรม

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

            • บทความวิจัยในวารสาร

      1. Dong Nhut Khanh, V., Setthawong, P., Tharasanit, T., Setthawong, P., Tharasanit, T., Sutayatram, S and Kijtawornrat, A. The Preliminary chronic effects of electromagnetic radiation from mobile phones on heart rate variability, cardiac functions, blood profiles, and semen quality in healty dogs. Vet. Sci. 2022. 9: 201.
      2. Trikhun, P., Surachetpong, S.D., Sutayatram, S., and Buranakarl, C. Left ventricular systolic function in dogs with pulmonic stenosis. World. 2020. 13(11): 2436-2442.
      3. Bhamarasuta, C., Premratanachai, K., Mongkolpinyopat, N., Yothapand, P., Vejpattarasiri, T., Dissayabutra, T., Trisiriroj, M., Sutayatram, S., and Buranakarl, C. Iron status and erythropoiesis response to darbepoetin alfa in dogs with chronic kidney disease. J Vet Med Sci. 2021. 83(4):601-608.
      4. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., Dissayabutra, T., and Katoh, K. Effects of litter size and parity number on mammary secretions including, insulin-like growth factor-1, immunoglobulin G and vitamin A of black bengal, saanen and their crossbred goats in Thailand. Vet. Sci. 2021. 8(6):95.
      5. Sannamwong, N., Sutayatram, S., Chaivoravitsakul, N., Teewasutrakul, P., Kesdangsakonwut, S., and Buranakarl, C. Systemic aspergillosis involving the mediastinu associated with antifungal therapy in a dog.Thai J Vet Med. 2021. 51(3): 613-620.
      6. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Nuntapaitoon, M., and Katoh, K. Impact of insulin-like growth factor 1, immunoglobulin G and vitamin A in colostrum on growth of newborn Black Bengal goats and its crossbred. J Anim Physiol Anim Nutr. 2021. 1–8.
      7. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal ultrasonographic strain elastography and symmetric dimethylarginine (Sdma) in canine and feline chronic kidney disease. J.Med. 2020. Sci. 82(8): 1104-1112.
      8. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal ultrasonographic shear-wave elastography and urinary procollagen type III amino-terminal propeptide in chronic kidney disease dogs. Vet world. 2020. 13(9): 1955-1965.
      9. Buranakarl, C., Thammacharoen, S., Semsirmboon, S., Sutayatram, S., Chanpongsang, S., Chaiyabutr, N., and Katoh, K. Effects of replacement of para-grass with oil palm compounds on body weight, food intake, nutrient digestibility, rumen functions and blood parameters in goats. Asian Austral J Anim. 2020. 33(6): 921-929.
      10. Anyamaneecharoen, T., Kradangnga, K., Sutayatram, S., Durongphongtorn, S and Brikshavana P. Clinical assessment of brachycephalic airway obstructive syndrome using questionnaire and 6-minute walk test in French Bulldogs. Thai J Vet Med. 2020. 50(3): 337-343. 
      11. Thanaboonnipat, C., Sutayatram, S., Buranakarl, C., and Choisunirachon, N. Renal shear wave elastography and urinary procollagen type III amino-terminal propeptide (uPIIINP) in feline chronic kidney disease. BMC Vet Res. 15(1): 54.
      12. Sutayatram, S., Buranakarl, C., Kijtawornrat, A., Soontornvipart, K., Boonpala, P., and Pirintr, P. The effects of submaximal exercise training on cardiovascular functions and physical capacity in dogs with myxomatous mitral valve disease. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(3): 433-441.
      13. Buranakarl, C., Sutayatram, S., Benjanirut, C. and Glangosol, P. ECG quiz. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(2): 317-318
      14. Buranakarl, C., Sutayatram, S., Benjanirut, C. and Glangosol, P. ECG quiz. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(1): 129-130
      15. Sutayatram, S., Soontornvipart, K. and Glangosol, P. Review of the cardiovascular toxicity of amitriptyline treatment for canine neuropathic pain. Thai Journal of Veterinary Medicine. 2018. 48(4), pp. 515-528

 

อ.สพ.ญ.ดร. สุมนวรรณ แจ่มสุวรรณ

งานวิจัย อ.สพ.ญ.ดร.สุมนวรรณ แจ่มสุวรรณ

ผลงานทางวิชาการ

     งานวิจัย

          • บทความวิจัยในวารสาร             

      1. Chamsuwan, S., Buranakarl, C., Angkanaporn., Dissayabutra, T., Chuaypen, N., Pisitkun, T and Kalpongnukul, N. A urinary proteomic study in hypercalciuric dogs with and without calcium oxalate urolithiasis. Veterinary World. 2022. 15(12): 2937-2944
      1. Chamsuwan, S., Angkanaporn, K., Dissayabutra, T., Chuaypen, N., and Buranakarl, C. The association between single nucleotide polymorphism in vitamin D receptor and calcium oxalate urolithiasis in dogs. J Vet Intern Med. 2021. 35(5): 2263-2270.

 

หมวดงานบริการ 1

โรงเรียนสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย ให้บริการแก่สังคมทั้งด้านการรักษาและการป้องกันโรคสัตว์ การเพิ่มผลผลิตสัตว์ และการสัตวแพทย์สาธารณสุข เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ อาทิ พยาธิชีวิวิทยาทางสัตวแพทย์ วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สัตวแพทย์สาธารณสุข ฯลฯ รวมทั้งเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิกด้วย โรงเรียนสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย ให้บริการแก่สังคมทั้งด้านการรักษาและการป้องกันโรคสัตว์ การเพิ่มผลผลิตสัตว์ และการสัตวแพทย์สาธารณสุข เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ อาทิ พยาธิชีวิวิทยาทางสัตวแพทย์ วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สัตวแพทย์สาธารณสุข ฯลฯ รวมทั้งเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิกด้วย

ข่าวสารและกิจกรรม

25ธ.ค. 2566
ใหม่

โครงการสัมมนาทางวิชาการ “Advanced Seminar and workshop in Cardiology” รุ่นที่ 18/2 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัตวแพทย์ได้เพิ่มพูนประสบการณ์ในการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจในสัตว์เลี้ยง บรรยายและ workshop : ระยะเวลาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - เดือนธันวาคม 2566

โครงการสัมมนาทางวิชาการ “Advanced Seminar and workshop in Cardiology” รุ่นที่ 18/2 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัตวแพทย์ได้เพิ่มพูนประสบการณ์ในการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจในสัตว์เลี้ยง บรรยายและ workshop : ระยะเวลาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - เดือนธันวาคม 2566
20ก.พ. 2566
ใหม่

โครงการสำนักงานสีเขียวของหน่วยสรีรวิทยา

โครงการสำนักงานสีเขียวของหน่วยสรีรวิทยา
20ก.พ. 2566
ใหม่

ศูนย์สัตว์ทดลอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชิญร่วมรับฟัง เสวนาวิชาการ เรื่อง (ร่าง) มาตราฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เกษตรเพื่องานวิทยาศาสตร์

ศูนย์สัตว์ทดลอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชิญร่วมรับฟัง เสวนาวิชาการ เรื่อง (ร่าง) มาตราฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เกษตรเพื่องานวิทยาศาสตร์
21ก.พ. 2566

โครงการประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัยและติดตามผลงานวิจัยนานาชาติของภาควิชา

โครงการประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัยและติดตามผลงานวิจัยนานาชาติของภาควิชา
8พ.ค. 2566
ใหม่

โครงการเฉลิมพระเกียรติ 100 ปีประสูติ “สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ 6 พฤษภาคม 2566”

ภาควิชาสรีรวิทยาได้เข้าร่วมให้บริการวิชาการ ด้านการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพแก่สัตว์เลี้ยงที่มาเข้าร่วมรับบริการในโครงการเฉลิมพระเกียรติ 100 ปีประสูติ “สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ 6 พฤษภาคม 2566”วันพุธที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 8.30 – 16.00 น.
13มิ.ย. 2566
ใหม่

ขอแสดงความยินดี แก่นิสิต

น.สพ. ปกิตติ์ บุญพละ นิสิตปริญญาเอก ได้รับรางวัล excellent research award จากงานประชุมวิชาการ VRVC 2023หัวข้อ Pimobendan ameliorates cardiac fibrosis and mitochondrial morphology change in rat model of mitral regurgitation
13มิ.ย. 2566
ใหม่

ขอแสดงความยินดี แก่นิสิต

Miss VAN NHUT KHANH DONG นิสิตปริญญาเอก ได้รับรางวัล poster and Excellent presentation award at VRVC 2023หัวข้อ PRELIMINARY EFFECTS OF DAPAGLIFLOZIN ON ELECTROCARDIOGRAPHY, BLOOD GLUCOSE, AND URINE GLUCOSE LEVELS IN CONSCIOUS BEAGLE DOGS
13มิ.ย. 2566
ใหม่

ขอแสดงความยินดี แก่นิสิต

ขอแสดงความยินดีกับ สพ.ญ. จิรัชญา พินิจมนตรี นิสิต ป.เอก หลักสูตรสรีรวิทยาการสัตว์ ภายใต้ทุน คปก. ได้รับทุนวิจัยเสริมจากสถานเอกอัครราชฑูตฝรั่งเศส เป็นเวลา 6 เดือน 😍
29มิ.ย. 2566
ใหม่

โครงการสัมมนาทางวิชาการ “Advanced Seminar and workshop in Cardiology” รุ่นที่ 18/1 ดำเนินการมาถึงรุ่นที่ 18 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัตวแพทย์ได้เพิ่มพูนประสบการณ์ในการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจในสัตว์ เลี้ยง รุ่นที่ 18/1 บรรยายและ workshop : ระยะเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน 2566

โครงการสัมมนาทางวิชาการ “Advanced Seminar and workshop in Cardiology” รุ่นที่ 18/1ดำเนินการมาถึงรุ่นที่ 18 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัตวแพทย์ได้เพิ่มพูนประสบการณ์ในการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจในสัตว์ เลี้ยง รุ่นที่ 18/1บรรยายและ workshop : ระยะเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน 2566
4ส.ค. 2566
ใหม่

โครงการสัมมนาภาควิชาสรีรวิทยา

โครงการสัมมนาภาควิชาสรีรวิทยา เรื่อ การเรียนการสอนชีวเคมีและสรีรวิทยาสำหรับการปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทย์ศาสตร์
24ส.ค. 2566
ใหม่

ยินดีต้อนรับนิสิตประจำภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2566

Welcome new member 2023
12ต.ค. 2566
ใหม่

โครงการ Advanced Seminar and workshop in Cardiology รุ่นที่ 19

เปิดรับสมัคร โครงการ Advanced Seminar and workshop in Cardiology รุ่นที่ 19

ที่ตั้ง

ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

 

ติดต่อเจ้าหน้าที่

Social Network