เกี่ยวกับเรา

ประวัติของหน่วยเคมี

     วิชาชีวเคมี เป็นวิชาที่เปิดสอนมาตั้งแต่แรกเริ่มตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์   โดยเปิดสอนนิสิตสัตวแพทย์ปี  1  (เทียบเท่ากับปี 3 ปัจจุบัน)  โดยบรรจุไว้ในสังกัดของแผนกวิชาสรีรวิทยา ในสมัยแรกเริ่มนั้น ทางคณะสัตวแพทย์ ตั้งอยู่ปลายถนนพญาไท  ใกล้กรมการสัตว์พาหนะ  (ซึ่งเป็นที่ตั้งของตึกวิทยาลัยพยาบาลราชชนนี โรงพยาบาลราชวิถี และ กรมการแพทย์ทหารบกในปัจจุบัน) 
     ในสมัยนั้น (พ.ศ. 2478–2492) ทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ยังไม่มีห้องปฏิบัติการชีวเคมี นิสิตสัตวแพทย์จึงต้องไปเรียนวิชานี้ร่วมกับนิสิตแพทย์ ทันตแพทย์และเภสัชศาสตร์ ที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ โดยมี ศาสตราจารย์ คลุ้ม  วัชโรบล เป็นผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้ จวบจนเมื่อ ปี พ.ศ. 2493 นิสิตสัตวแพทย์จึงมีอาจารย์สัตวแพทย์คนแรกเป็นผู้สอน คือ อาจารย์ น.สพ.พอ  จินดาวนิค และได้เริ่มทำการสอนชีวเคมี  ณ อาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์  โดยมี  อาจารย์สุพิศ  ถมังรักษ์สัตว์  (นามสกุลในขณะนั้น)  ซึ่งจบจากคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคุณประกาย จิตรกร (ภายหลังจบสัตวแพทยศาสตร์  รุ่น 18) เป็นผู้ร่วมควบคุมปฏิบัติการและเตรียมน้ำยาสำหรับการทดลองให้การเรียนการสอนในสมัยนั้นใช้หนังสือ General Biochemistry เป็นหลัก โดยมีการเรียนการสอนสัปดาห์ละ 8 ชั่วโมง  เป็นการบรรยาย 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง และการปฏิบัติการ 2 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง แต่การเรียนการสอนวิชาชีวเคมีที่อาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์ ถนนพญาไท นั้นมีอยู่เพียงปีเดียว ในปี พ.ศ. 2494   คณะสัตวแพทยศาสตร์   ก็ต้องย้ายมายังอาคารถนนอังรีดูนังต์  ซึ่งก็คืออาคารรูปตัวยู (ปัจจุบันคือตึกสัตววิทยวิจักษ์)
     แผนกวิชาสรีรวิทยาได้ใช้ด้านทิศใต้ของอาคารเป็นที่ตั้งของแผนก โดยใช้ห้องบรรยายวิชาชีวเคมีและวิชาสรีรวิทยาร่วมกัน  แต่หน่วยชีวเคมี มีห้องปฏิบัติการแยกออกมาต่างหาก จวบจนถึง พ.ศ. 2513   ได้มีการสร้างอาคารชัยอัศวรักษ์ขึ้น ที่ทำการของหน่วยทั้งห้องปฏิบัติการ ห้องบรรยายและห้องพักอาจารย์ จึงได้ย้ายมาอยู่ที่ชั้น 4 อาคารชัยอัศวรักษ์ ส่วนหน่วยสรีรวิทยาอยู่ที่ชั้น 5 ของอาคาร ห้องปฏิบัติการของหน่วยชีวเคมี ที่อยู่ทางทิศเหนือของอาคาร สามารถจุนิสิตได้รวม 60 คน   ส่วนห้องบรรยายและห้องพักอาจารย์อยู่ทางทิศใต้
     ต่อมา เมื่อมีโครงการวิจัยเพิ่มมากขึ้น และอาคาร 50 ปี สัตวแพทยศาสตร์ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2529 หน่วยชีวเคมีจึงย้ายห้องปฏิบัติการมาอยู่ที่ชั้น 4 อาคาร 50 ปี สัตวแพทยศาสตร์ อย่างไรก็ดีที่อาคาร 50 ปี สัตวแพทยศาสตร์ มีห้องปฏิบัติการที่รองรับนิสิตได้เพียง 100 คน ซึ่งไม่สามารถเพียงพอต่อจำนวนนิสิตที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเมื่ออาคาร 60 ปี สัตวแพทยศาสตร์   สร้างเสร็จในปีพ.ศ. 2538 จึงได้มีการย้ายหน่วยชีวเคมีมายังชั้น 7 ของอาคารและเป็นที่ตั้งของหน่วยชีวเคมีจนถึงปัจจุบัน

รายชื่อคณาจารย์ปัจจุบัน

     1. รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล               หัวหน้าหน่วยชีวเคมี   
     2. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์                   หน่วยชีวเคมี
     3. ผศ. น.สพ. ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล             หน่วยชีวเคมี
     4. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศริยา อัศวกาญจน์                  หน่วยชีวเคมี
     5. อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา                                       หน่วยชีวเคมี

บุคลากร

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. สพ.ญ.
ศริยา อัศวกาญจน์

รศ. สพ.ญ.
ศริยา อัศวกาญจน์

รองศาสตราจารย์

อีเมล : Sariya.A@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 02-2189546

 

 

 

 

 

 

อาจารย์พิเศษ

รศ. สพ.ญ. ดร.
มีนา สาริกะภูติ

อาจารย์พิเศษ

อีเมล : meena.s@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189566

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. สพ.ญ. ดร. 
ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์

ผศ. สพ.ญ. ดร.
ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

อีเมล : sirakarnt.D@chula.ac.th

เบอร์โทร : 02-2189546

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
ผศ. น.สพ. ดร.
ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล

ผศ. น.สพ. ดร.
ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

อีเมล : Prapruddee.P@Chula.ac.th

เบอร์โทร : 02 2189546

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
รศ. สพ.ญ. ดร.
กรรณาภรณ์ สุริยผล

รศ. สพ.ญ. ดร.
กรรณาภรณ์ สุริยผล

รองศาสตราจารย์

อีเมล : Gunnaporn.V@chula.ac.th

เบอร์โทร : 02-2189546

 

 

 

 

 

 

ผลงานวิจัย
อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา

อ. ดร.
ธีรพงศ์ ยะทา

อาจารย์

อีเมล : Teerapong.Y@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189546

 

 

 

 

 

 

นักวิทยาศาสตร์ 

นาง
สุจินต์ ศิริสวัสดิ์

นักวิทยาศาสตร์

อีเมล : Sirisawad.s@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189543

 

 

 

 

 

 

เจ้าหน้าที่นักวิทยาศาสตร์

นางสาว
นันทิดา คุณสุทธิ์

เจ้าหน้าที่นักวิทยาศาสตร์

อีเมล : Nanthida.K@chula.ac.th

เบอร์โทร : 02-2189543

 

 

 

 

 

 

เจ้าหน้าที่สำนักงาน - ธุรการ

นางสาว
วราภรณ์ โชติสวัสดิ์

เจ้าหน้าที่สำนักงาน

อีเมล : warapron.c@chula.ac.th

เบอร์โทร : 022189546

 

 

 

 

 

 

พนักงานประจำห้องทดลอง

นาง
อภิญญา บินซัน

คนงานประจำห้องทดลอง

อีเมล : Apinya.B@chula.ac.th

เบอร์โทร : 02-2189543

หลักสูตรที่เปิดสอน

การเรียนการสอน

           หน่วยชีวเคมี รับผิดชอบการสอนวิชาบรรยายและปฏิบัติการ ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต โดยในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา หน่วยชีวเคมีรับผิดชอบการเรียนการสอนในหลักสูตรชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Biosciences) ร่วมสอนในระดับบัณฑิตศึกษาของหลักสูตรต่างๆของคณะสัตวแพทย์ และหลักสูตรนานาชาติ (Veterinary Science and Technology) 

หน่วยชีวเคมี มีภาระงานสอนรวมทั้งสิ้น 14 รายวิชา 30 หน่วยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

บรรยาย (หน่วย)

ปฏิบัติการ (หน่วย)

รวม (หน่วย)

1

3102-112

 Biology for Veterinary Student (ชีววิทยาสำหรับนิสิตสัตวแพทย์) *

2

 

2

2

3100-101

 Biology for Veterinary Student Lab
 (ปฎิบัติการชีววิทยาสำหรับนิสิตสัตวแพทย์) *

 

1

1

3

3102-113

 Biochemistry I (ชีวเคมี I)

2

1

3

4

3102-215

 Biochemistry II (ชีวเคมี 2)

2

 

2

5

3102-315

 Veterinary Clinical Chemistry (เคมีคลินิกทางสัตวแพทย์) *

2

1

3

6

3102-503

 Application of Veterinary Molecular Biology
 (การประยุกต์ใช้อณูชีววิทยาทางการสัตวแพทย์)

1

1

2

7

3102-504

 Dermatology in Cats and Exotic Pets  
 (โรคผิวหนังในแมวและสัตว์เลี้ยงวิเทศ)

1

 

1

 

หลักสูตรบัณฑิตศึกษา

 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

บรรยาย (หน่วย)

ปฏิบัติการ (หน่วย)

รวม (หน่วย)

1

3100-717

 Cell and Molecular Biology in Veterinary Sciences (VST)

3

 

3

2

3102-742

 Veterinary Cell Biology (เซลล์วิทยาทางการสัตวแพทย์)

3

 

3

3

3102-740

 Research Instrumentation (VST) *

2

1

3

4

3102-740

 Research Instrumentation (เครื่องมือสำหรับงานวิจัย) *

2

1

3

5

3102-741 

 Advanced in Veterinary Biochemistry (ชีวเคมีขั้นสูงในสัตว์)

3

 

3

6

3100-705

 Perspective and Innovations in Bioscience
 (มโนทัศน์และนวัตกรรมทางชีวศาสตร์) *

1

 

1

7

3100-717

 Cell and Molecular Biology in Veterinary Science 
 (เซลล์และอณูชีววิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์)

2

 

2

 

    รวมหน่วยกิตทั้งหมด

30

รศ.สพ.ญ.ดร.กรรณาภรณ์ สุริยผล

ผลงานทางวิชาการ 

1. งานวิจัย

      • บทความวิจัยในวารสาร

          1. Permkam C,  Suriyaphol G Sirisawadi S,   Tuntivanich  N* 2022.  Biological  Compositions   of   Canine  Amniotic
             Membrane and Its Extracts and the Investigation of Corneal Wound Healing Efficacy In Vitro.  Vet Sci. 9(5) :  227.
         2. Suriyaphol P, Chiu JKH, Yimpring N, Tunsagool P, Mhuantong W, Chuanchuen R, Bessarab I, Williams RBH, Ong RT,
             Suriyaphol G* 2021. Dynamics of the fecal microbiome and antimicrobial resistome in commercial piglets during
             the weaning period.
Sci Rep. 11: 18091.
         3. Ploypetch S,  Roytrakul S,  Jaresitthikunchai J,  Phaonakrop N,   Teewasutrakul P,   Rungsipipat A,  Suriyaphol G*
             Salivary proteomics in monitoring the therapeutic response of  canine  oral melanoma.   PLoS One.  2021 Aug 19;
             16(8): e0256167.
         4. Tunsagool P,   Mhuantong W,   Tangphatsornruang S,   Am-In N,  Chuanchuen R, Luangtongkum T, Suriyaphol G*
             Metagenomics of antimicrobial and  heavy  metal  resistance  in  the  cecal  microbiome  of  fattening pigs raised
             without antibiotics. Appl Environ Microbiol. 87: e02684-20.
         5. Yimpring N,  Roytrakul S,  Jaresitthikunchai J,  Phaonakrop N,  Krobthong S, Suriyaphol G* Proteomic profiles of
             unilateral  cryptorchidism  in  pigs  at  different  ages  using MALDI-TOF mass spectrometry and in-gel digestion
             coupled with mass spectrometry (GeLC-MS/MS) approaches. BMC Vet Res. 16: 373.
         6. Ploypetch S, Roytrakul S, Phaonakrop N,Kittisenachai S,Leetanasaksakul K,Pisamai S,Kalpravidh C,Rungsipipat A,
             Suriyaphol G*  In-gel  digestion  coupled  with  mass  spectrometry  (GeLC-MS/MS) - based  salivary  proteomic
             profiling of canine oral tumors. BMC Vet Res. 16: 335.
         7. Suriyaphol G*, Leelakajornkit S, Sripodok W, Kallayanathum W, Komonpunporn A, Am-in N, Pisamai S, Yimpring
             N 2020. Testicular gene expression of Anti-Müllerian hormone, Androgen receptor and Inhibin alpha subunit in
             porcine cryptorchidism. Thai J Vet Med. 50: 211-217.
         8.
PhoomvuthisarnP*,  Suriyaphol GTuntivanich N 2019.  Effect of  glycerol  concentrations  and temperatures on
             epidermal  growth  factor  protein  expression  in  preserved  canine   amniotic   membrane.   Cell   Tissue   Bank.
             20: 579-583.
         9. Ploypetch S, Roytrakul S, Jaresitthikunchai J, Phaonakrop N, Krobthong S, Suriyaphol G* Salivary proteomics of
             canine  oral  tumors  using  MALDI - TOF  mass  spectrometry  and  LC-tandem  mass  spectrometry.  PLoS  One.
             14: e0219390.
        10. Yimpring N, Teankum K, Srisuwatanasagul S, Kunnasut N,   Am-In N,  Suriyaphol G*  Alteration   of   androgen
              receptor expression, apoptosis and cell proliferation in cryptorchid suckling, nursery and growing-finishing pigs.

              Theriogenology. 127: 49-55.
        11. Yimpring N, Teankum K, Suriyaphol P, Am-in N, Suriyaphol G* A simple and rapid method for the extraction of
              genomic DNA from piglet tails without using proteinase K. Thai J Vet Med. 49: 65-69.

        12. Pisamai S, Roytrakul S, Phaonakrop N, Jaresitthikunchai J, Suriyaphol G* 2018. Proteomic analysis of canine oral
              tumor  tissues using MALDI-TOF  mass  spectrometry  and  in-gel  digestion  coupled  with  mass  spectrometry
              (GeLC MS/MS) approaches. PLoS One. 13: e0200619.
         13. Asawakarn S*,  Teeranuwat I,  Watcharaprapapong N,  Siriwatchaiporn N,  Somsai P,  Kuldee M,  Suriyaphol G,
              Dhitavat S 2018.Comparison of dried blood spot, buccal swab,cloacal swab and feces as DNA sources to identify
              avian sexes by PCR. Thai J Vet Med. 48: 325-330.
         14. Pisamai S, Rungsipipat A, Kalpravidh C, Suriyaphol G*  Gene  expression  profiles  of cell adhesion molecules,
              matrix metalloproteinases and their tissue inhibitors in canine oral tumors.
Res Vet Sci. 113: 94-100.
         15. Pisamai S, Rungsipipat A, Kunnasut N, Suriyaphol G* Immunohistochemical Expression Profiles of Cell Adhesion
               Molecules, Matrix Metalloproteinases  and  their  Tissue  Inhibitors  in  Central and Peripheral Neoplastic Foci of
               Feline Mammary Carcinoma. J Comp Path. 157: 150-162.
         16. Pisamai S, Rungsipipat A, Kalpravidh C, Suriyaphol G* Selection of Reference Genes for Real-time Polymerase
               Chain Reaction in Canine Oral Tumor and Cancer. Thai J Vet Med. 46: 295-304.
         17. Assawawongkasem N, Suriyaphol G, Srisuwattanasagul S, Theerawattanasirikul S, Sailasuta A* 2016. Involucrin
              Expression  and  Association  with  Ki-67 in Paraffin Embedded Tissue of Canine Skin Tumors: A Retrospective
              Study. Thai J Vet Med. 46: 97-107.
         18. Suriyaphol G*, Kunnasut N, Sirisawadi S, Wanasawaeng W, Dhitavat S 2014. Evaluation of dried blood spot
               collection paper blotters for avian sexing by direct PCR. Br Poult Sci. 55: 321-328.
         19. Suriyaphol G*, Theerawatanasirikul S, Chansiripornchai P 2014. Association of Gap Junction Beta 2 and
               Transglutaminase 1 Gene Expression with Canine Atopic Dermatitis. Thai J Vet Med. 44: 279-285.
         20. Asawakarn S, Ruangchaiprakarn V, Srisowanna N, Wongwan L, Kanuengthong A and Suriyaphol G*
               Determination of Multidrug Resistance (MDR1) Gene and Its Mutations in Dogs by Using Polymerase Chain
               Reaction. Thai J Vet Med. 42: 37-42.
         21. Theerawatanasirikul S, Sailasuta A, Thanawongnuwech R, Suriyaphol G* Alterations of keratins, involucrin and
               filaggrin gene expression in canine atopic dermatitis. Res Vet Sci. 93: 1287-1289.
         22. Theerawatanasirikul S, Sailasuta A, Thanawongnuwech R, Nakbed T, Charngkaew K, Suriyaphol G* Differential
               expression  patterns  of  proteins  involved  in  epidermal  proliferation  and  differentiation  in  canine  atopic
               dermatitis. Thai J Vet Med. 42: 287-296.
         23. Theerawatanasirikul S, Suriyaphol G, Thanawongnuwech R, Sailasuta A* 2012. Histologic morphology and
               involucrin, filaggrin, and keratin expression in normal canine skin from dogs of different breeds and coat types.
               J Vet Sci. 13: 163-170.
         24. Suriyaphol G*, Suriyaphol P, Sarikaputi M, Theerawatanasirikul S and Sailasuta A 2011. Association of Filaggrin
               (FLG) Gene Polymorphism with Canine Atopic Dermatitis in Small Breed Dogs. Thai J Vet Med. 41: 509-517.
         25. Theerawatanasirikul S, Suriyaphol G, Srisook K, Thanawongnuwech R and Sailasuta A* Immunohistochemical
               staining patterns of cornified-envelope (CE) and markers of epidermal differentiation in canine skins.Thai J Vet
               Med. 41: 32-33.
         26. Theerawatanasirikul S, Sailasuta A and Suriyaphol G* Relationship of epidermal thickness on body regions,
               age, sex and breed in normal canine skin: A preliminary study. Thai J Vet Med. 40: 118.
         27. Suriyaphol G*, Sarikaputi M, Suriyaphol P. 2009. Differential responses of cells from human skin keratinocyte
               and bovine mammary epithelium to attack by pore-forming Staphylococcus aureus alpha-toxin. Comp Immunol
               Microbiol Infect Dis. 32: 491-502.
* Corresponding author

      • บทความวิจัยใน Monograph, Book Series

          1. Ploypetch S, Roytrakul S, Suriyaphol G* Salivary Proteomic Analysis of Canine Oral Melanoma by MALDI-TOF
              Mass Spectrometry and LC-Mass Spectrometry/Mass Spectrometry. In: Melanoma: Methods and Protocols.
              Methods in Molecular Biology, 2265. Hargadon KM (ed.) New York: Humana Press. pp. 429-445.

2. ผลงานวิชาการรับใช้สังคม (ตามนิยามที่ ก.พ.อ กำหนด)

          1. วิทยากรรายการสัตวแพทย์สนทนา เรื่อง เทคโนโลยีโอมิกส์ นวัตกรรมท้าทายด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าหายาก เพื่อออกอากาศวันที่
              18 มิ.ย. 2565 เวลา 9:05-9:30 น. ทางสถานีวิทยุจุฬาฯ CHULA RADIO PLUS FM 101.5 MHz  
          2. วิทยากรรายการสัตวแพทย์สนทนา เรื่อง ละมั่งหลอดแก้ว งานวิจัยและพัฒนาสู่การอนุรักษ์สัตว์หายาก เพื่อออกอากาศวันที่ 11
              มิ.ย. 2565 เวลา 9:05-9:30 น. ทางสถานีวิทยุจุฬาฯ CHULA RADIO PLUS FM 101.5 MHz
          3. วิทยากรบรรยายเรื่อง Tips and Tricks การเขียนข้อเสนออย่างไรให้โดนใจ สวก. งาน Boost up ARDA Research Fund for CU
              Vet วันที่ 4 เม.ย. 2565 Zoom meeting
          4. วิทยากรบรรยายเรื่อง Proteomics: Innovative technology in veterinary science งาน 14th International Symposium
              of the Protein Society of Thailand (PST 2019) ระหว่างวันที่ 23 ก.ค. 2562 ณ รร.รามา การ์เด้นส์ กทม.
          5. วิทยากรบรรยายเรื่อง Proteomic profiles of canine oral tumors งาน International Symposium of World Association
              of Veterinary Laboratory Diagnosticians (ISWAVLD) ระหว่างวันที่ 19-22 มิ.ย. 2562 ณ รร. The Empress เชียงใหม่
          6. วิทยากรบรรยายเรื่อง Salivary proteomics of canine oral tumors using MALDI-TOF mass spectrometry งาน
              International Workshop on Bioresource Center: Connecting the Nature, Creating the Future ระหว่างวันที่ 19-22
              มี.ค. 2562 ณ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย  ปทุมธานี

รศ.สพ.ญ.ศริยา อัศวกาญจน์

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

Publications:

- Prawettongsopon C. Asawakarn S. and Suthiphongchai T. 2009. Suppression of prometastatic phenotype of highly metastatic androgen-independent rat prostate cancer MLL cell line by PI3K inhibitor LY294002. Oncol Res. 17(7):301-9.

- Asawakarn S. Ruangchaiprakarn V. Srisowanna N. Wongwan L. Kanuengthong A. and Suriyaphol G. 2012. Determination of multidrug resistance (MDR1) gene and its mutations in dogs by using polymerase chain reaction. Thai J Vet Med. 42(1): 523-526.

-  Asawakarn S. Watanaphansak S. and Asawakarn T.2012. Report of Lawsonia intracellularis infection in dogs by polymerase chain reaction. Thai J Vet Med. 42(4): 523-526.

- Asawakarn S. and Asawakarn T. 2012. Role of matrix metalloproteinases in animals. Thai J Vet Med. 42(2): 137-142.

- Saktip Uthongsap, Surasak Kasetsirikul,Werayut Srituravanich, Alongkorn Pimpin, Sariya Asawakarn, Prapruddee Piyaviriyakul Wutthinan Jeamsaksiri, and Witsaroot Sripumkhai. Microfilaria Filtering Microfluidic Chip – Preliminary Study. The 2015 Biomedical Engineering International Conference (BMEiCON-2015). (978-1-4673-9158-0/15/$31.00 ©2015 IEEE)

- Panboon I. Asawakarn S. and Pusoonthornthum S.2016. Urine protein, urine protein to creatinine ratio and N-acetyl-β-D-glucosaminidase index in cats with idiopathic cystitis vs healthy control cats. J Feline Med Surg. Aug 18.

- Piyaviriyakul P.Sailasuta A. Pinpim A.  Jeamsaksiri W. Sripumkhai W. Asawakarn S. 2017. Application on Microfluidics Chip in Veterinary Science.Thai J Vet Med Suppl.47: S59-S60

- Asawakarn S. Teeranuwat I. Watcharaprapapong N. Siriwatchaiporn N. Somsai P. Kuldee M. Suriyaphol G. and Dhitavat S.   2018. Comparison of dried blood spot, buccal swab, cloacal swab and feces as DNA sources to identify avian sexes by PCR.  Thai J Vet Med Suppl. 48(3): 325-330.

- Nuntapaitoon M. Sirisawadi S. Asawakarn S. Tummaruk P. 2019. (Accu-chek® Performa) for blood glucose measurement  in newborn piglets. Thai J Vet Med. 49(1): 37-42.

- S Asawakarn, S Dhitavat, S Sirisawadi, N Kunnasut, P Kamkong, P Taweethavornsawat. 2020. Abnormalities of serum protein patterns in canine hepatozoonosis by electrophoretic technique. Proceedings of The 19th Chulalongkorn University Veterinary Conference CUVC 2020: Research in Practice. 22-24 April 2020

- S Sirisawadi, W Adulyanubap, K Aiamlaall, K Hutsaket, S Dhitavat, S Asawakarn, N Kunnasut. The study of protein electrophoresis patterns in dogs with increasing alanine aminotransferase enzyme. The 19th Chulalongkorn University Veterinary Conference CUVC 2020: Research in Practice. 22-24 April 2020.

- Asawakarn S. Sirisawadi S. Kunnasut N. Kamkong P. Taweethavonsawat P. 2021. Serum protein profiles and C-reactive protein in natural canine filariasis. Veterinary World, 14(4): 860-864.

- Asawakarn S. and Taweethavonsawat P. 2021. Characterisation of serum protein electrophoresis patterns and C-reactive protein in canine tick-borne diseases. Veterinary World, 14(22):2150-2154. 

- Rungruangsak J, Suwimonteerabutr J, Buranaamnuay K, Asawakarn S, Chantavisoote N, Pisitkun T, et al. Difference of seminal plasma and sperm proteins in good and poor freezability boar ejaculates. Veterinarska stanica [Internet]. 2022;53(2):0-0. https://doi.org/10.46419/vs.53.2.8

- Jitsamai W. Kamkong P. Asawakarn S. and Taweethavonsawat P. 2021. Emergence of Dirofilaria repens (Spirurida: Onchocercidae) in dogs in Eastern Thailand. Veterinary World, 14(11): 2851-2854.

- Asawakarn S. Dhitavat S.and Taweethavornsawat P. 2021.Evaluation of the hematological and serum protein profiles of blood parasite coinfection in naturally infected dogs. TJVM. 51(4):723-728.

- Kunnasut A. Aiumlaal K. Dhitavat S. Asawakarn S. Sirisawadi S. 2021. The plasma protein electrophoresis pattern in cats with high level of alanine aminotransferase. Proceeding of the 20th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 29-30 April 2021 CUVC 2020: Research in Practice

- T. Swangchan-Uthai, K. Champasak, N. Rattanaporn, T. Cositsakulchai, N. Kumnan, S. Asawakarn, S. Suadsong, 2021. Uterine bacterial isolates from postpartum dairy cattle in Thailand and their associations with endometritis diagnosis. Proceeding of the the 20th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 29-30 April 2021.

-W. Jitsamai. P. Kamkong. S. Chungpivat. S. Asawakarn. P. Taweethavonsawat. 2021. Prevalence of canine tick-borne diseases in Bangkok and vicinity, Thailand: the consequence of climate parameters. Proceeding of the the 20th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 29-30 April 2021

- Gicana K. Pinidmontree C. Kosalathip K. Sirirut S. Komolvanich S. Asawakarn S. Sakcamduang W. Naiyanetr P. and Tachampa K. 2022. Use of proposed systolic and myocardial performance indices derived from simultaneous ECG and PCG recording to assess cardiac function in healthy Beagles. Vet world. 15(25):1785-1797

- Asawakarn P., Dhitavat S., Kumphune S., Asawakarn S. 2022. The effect of the two food additives sodium tetraborate and potassium nitrate on viability of  human lung carcinoma epithelial cell. The proceeding of 48th International Cingress of Science, Technology and Technology based Innovation.

- Sirisawadi S.Aiumlaal K. Dhitavat S. Asawakarn S. Kunnasut A. 2022.Comparative serum protein electrophoresis pattern in dogs, cats, and chickens. Proceeding of the 21th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 27-29 April 2021(TJVM supplement vol.52, 2022).

CUVC 2022: Visionary Research in Practice Inovation for Veterinary Society

- Kuedbantakien P. Asawakarn P. Kunnasut A. Sirisawadi S. Dhitavat S. Asawakarn S. 2022 Preliminary study on the cytotoxicity of sodium tetraborate in the feline kidney cell line. Proceeding of the 21th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 27-29 April 2021 (TJVM supplement vol.52, 2022.CUVC 2022: Visionary Research in Practice Inovation for Veterinary Society

- Asawakarn S., Pimpin A., Jeamsaksiri W., Sripumkhai W. Jitsamai W.,Taweethavonsawat P., Piyaviriyakul P. 2023. Application of a novel rectangular filtering microfluidic device for microfilarial detection. Front.Vet.Sci.9.1048131.

 - Asawakarn S., Vachirapoca Y., Sirisawadi S., Kunnasut N., Dithavat S. 2023. The effect of food additive potassium nitrate on the feline kidney cell line. The Proceeding of the 22th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 19-21 April 2023.

- Swangchan-Uthai T., Champasak K., Rattanaporn N., Cositsakulchai T., Kumnan N, .Asawakarn S., Suadsong S., Sangpradit K. 2023. Application of Intrauterine Leukocyte Esterase Test Strips for Diagnosis of Postpartum Endometritis in Dairy Cattle. The Proceeding of the 22th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 19-21 April 2023.

- Kubatakien P. Asawakarn S. Sirisawadi S.Pusoonthornthum R. 2023. Role of calcium-activated potassium channel KCa3.1 in TGF-B/ signaling in doxorubicin-treated Crandell-Rees feline kidney (CRFK)cells. The Proceeding of the 22th Chulalongkorn University Veterinary Conference. 19-21 April 2023.

- Sailasut A. Piyaviriyakul P. Asawakarn S.Kaewamatawong T.Tewasutrakul P.Bhanpatanakul S.Pimpin A.Sriturawanich W.Ketpun D.Suwannnapan T.Jeasaksiri W.Sripunkhai W.Chanaksakulniyom M. Innovation of microfluidic-based device for biomedical study and diagnosis. ISWALVD2023. Congress Center Lyon. France.

Petty Patents

- ชุดทดสอบแอมโมเนีย อนุสิทธิบัตรเลขที่ 3825 (ได้รับจดทะเบียน 23 เมษายน พ.ศ. 2550) 

- ชุดทดสอบความเป็นด่าง อนุสิทธิบัตรเลขที่4477 (ได้รับจดทะเบียน 14 มกราคม พ.ศ. 2551)  

- อุปกรณ์วัดค่าความเข้มข้นของก๊าซแอมโมเนีย อนุสิทธิบัตรเลขที่ 2272 (ได้รับจดทะเบียน 16 มกราคม พ.ศ.2549)

- อุปกรณ์วัดค่าความเข้มข้นโดยเฉลี่ยของก๊าซแอมโมเนีย อนุสิทธิบัตรเลขที่ 2986 (ได้รับจดทะเบียน 22 ธันวาคม พ.ศ.2549)

- อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกแบบฟิลเตอร์สไปรัลสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16171 (ได้รับจดทะเบียน 28 เมษายน 2563)

- ชุดทดสอบแมกนีเซียม อนุสิทธิบัตร เลขที่ 15834 (ได้รับจดทะเบียน 15 มกราคม 2563)

- อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกแบบฟิลเตอร์สี่เหลี่ยมผืนผ้าสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16566 (ได้รับจดทะเบียน 5 สิงหาคม 2563)

- อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกแบบฟิลเตอร์หยดน้ำสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16569 (ได้รับจดทะเบียน 5 สิงหาคม 2563)

- องค์ประกอบไฮโดรเจลกักเก็บอนุภาคนาโนที่ห่อหุ้มน้ำมันหอมระเหยและกรรมวิธีการเตรียม อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21690 (ได้รับจดทะเบียน 25 พฤษภาคม 2566)

- กรรมวิธีการผลิตชุดทดสอบโปรตีนและกรดอะมิโน อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21980 (ได้รับจดทะเบียน 30 มิถุนายน 2566)

Awards

  • รางวัล Grand Prix และ รางวัล Gold medal diploma จากผลงาน Microfluidic chip for microfilaria detection ในงานประกวดนวัตกรรม XIV INTERNATIONAL WARSAW INVENTION SHOW (IWIS 2020) ณ กรุงวอซอร์ ประเทศโปแลนด์ ระหว่างวันที่ 19 - 21 ตุลาคม 2563
  • รางวัลเหรียญทอง จากผลงาน Microfluidic chip for microfilaria detection ในงานประกวดนวัตกรรม The 44th International Invention Show (INOVA 2020) เมืองซาเกกร็บ สาธารณรัฐโครเอเชีย ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม - 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
  • รางวัลเหรียญทอง จากการส่งงานเข้าร่วมประกวดนวัตกรรม Shanghai International Invention & Innovation Expo 2021 (SIIIE2021) ที่นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน จากผลงาน Protein and amino acid test kit: Preparation and Method of use. วันที่ 15-17 เม.ย. 64
  • รางวัลเหรียญทองแดง จากการส่งงานเข้าร่วมประกวดนวัตกรรม Shanghai International Invention & Innovation Expo 2021(SIIIE 2021) ที่นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน จากผลงาน An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts. วันที่ 15-17 เม.ย. 64
  • รางวัลเหรียญทอง จากการส่งงานเข้าร่วมประกวดนวัตกรรม 2021 Japan Design, Idea and Invention Expo ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จากผลงาน An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts. วันที่ 18-20 ส.ค.64
  • รางวัล Grand Prize และเหรียญทอง จากการส่งงานเข้าร่วมประกวดนวัตกรรม The Innovation Week in Africa (IWA 2021) ณ ประเทศโมร็อกโก จากผลงาน Metrisure วันที่ 8-12 พ.ย.64
  • รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประเภท รางวัลผลงานวิจัยประจำปีงบประมาณ 2564 รางวัลระดับดีมาก เรื่อง นวัตกรรมอุปกรณ์ระบบของไหลจุลภาคเพื่อประยุกต์ใช้ศึกษาด้านวิศวกรรมชีวภาพในทางสัตวแพทย์เป็นรูปแบบศึกษา วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564  (ศ.สพ.ญ.ดร.อัจฉริยา ไศลสูต, รศ.ดร.อลงกรณ์ พิมพิณ, รศ.น.สพ.ดร.ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล,  รศ.น.สพ.ดร.ธีรยุทธ แก้วอมตวงศ์, ผศ.สพ.ญ.ศริยา อัศวกาญจน์, ผศ.ดร.วีระยุทธ ศรีธุระวานิช, ดร.วุฒินันท์ เจียมศักดิ์ศิริ, นายวิศรุต ศรีพุ่มไข่ และ ดร.มยุรี ชนะสกุลนิยม)
  • รางวัลเหรียญทอง จากผลงาน อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ชิปสำหรับตรวจหาไมโครฟิลาเรีย Microfluidic chip for microfilaria detection ในการประกวดและจัดแสดงนิทรรศการในเวทีระดับนานาชาติ งาน SPECIAL EDITION 2022 - INVENTION GENEVA EVALUATION DAYS  ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ระหว่างวันที่ 16-20 มีนาคม พ.ศ. 2565
  • รางวัลเหรียญเงิน จากผลงาน สเปรย์สมุนไพรนาโน สูตรเย็น บรรเทาอาการปวดเมื่อย An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying ในการประกวดและจัดแสดงนิทรรศการในเวทีระดับนานาชาติ งาน SPECIAL EDITION 2022 - INVENTION GENEVA EVALUATION DAYS ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ระหว่างวันที่ 16-20 มีนาคม พ.ศ. 2565
  • ประกาศเกียรติคุณ และ จัดแสดงผลงาน ในงาน International outstanding inventors awards ceremony 2022 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม  เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565
  • ได้รับรางวัลเหรียญทอง และ special awards จากผลงาน The odour control refreshing spray for pet animals:  friendly-natural extracts powdered with  nanotechnology จากงานประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติ The 13th International Innovation and Invention Competition, IIIC 2022  ไทเป ไต้หวัน
  • ได้รับรางวัลเหรียญทองและ special awards จากผลงาน Anti dust mites spray (Nano-botanical) จากงานประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติ The 13th International Innovation and Invention Competition, IIIC 2022  ไทเป ไต้หวัน

 

 

 

 

 

อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย 

ผลงานวิจัยตีพิมพ์

1. Bunnoy, A., Thompson, K. D., Thangsunan, P., Chokmangmeepisarn, P., Yata, T., Pirarat, N., Kitiyodom, S., Thangsunan, P., Sukkarun, P., Prukbenjakul., P., Panthukumpol, N., Morishita, M., Srisapoome, P., & Rodkhum, C. (2023). Development of a bivalent mucoadhesive nanovaccine to prevent francisellosis and columnaris diseases in Nile tilapia (Oreochromis niloticus). Fish & Shellfish Immunology, 138, 108813.

2. Yostawonkul, J., Kitiyodom, S., Supchukun, K., Thumrongsiri, N., Saengkrit, N., Pinpimai, K., Hajitou, A., Thompson, K.D., Rattanapinyopituk, K., Mita, M., Kamble, M.T., Yata, T., & Pirarat, N. (2023). Masculinization of Red Tilapia (Oreochromis spp.) Using 17α-Methyltestosterone-Loaded Alkyl Polyglucosides Integrated into Nanostructured Lipid Carriers. Animals, 13(8), 1364.

3. Tattiyapong, P., Kitiyodom, S., Yata, T., Jantharadej, K., Adamek, M., & Surachetpong, W. (2022). Chitosan nanoparticle immersion vaccine offers protection against tilapia lake virus in laboratory and field studies. Fish & Shellfish Immunology.

4. Thangsunan, P., Kitiyodom, S., Srisapoome, P., Pirarat, N., Yata, T., Thangsunan, P., Boonrungsiman, S., Bunnoy, A., & Rodkhum, C. (2022). Novel development of cationic surfactant-based mucoadhesive nanovaccine for direct immersion vaccination against Francisella noatunensis subsp. orientalis in red tilapia (Oreochromis sp.). Fish & Shellfish Immunology, 127, 1051-1060.

5. Kaewmalun, S., Yata, T., Kitiyodom, S., Yostawonkul, J., Namdee, K., Kamble, M. T., & Pirarat, N. (2022). Clove Oil-Nanostructured Lipid Carriers: A Platform of Herbal Anesthetics in Whiteleg Shrimp (Penaeus vannamei). Foods, 11(20), 3162.

6. Sukkarun, P., Kitiyodom, S., Yostawornkul, J., Chaiin, P., Yata, T., Rodkhum, C., Boonrungsiman, S. and Pirarat, N., 2022. Chitosan-polymer based nanovaccine as promising immersion vaccine against Aeromonas veronii challenge in red tilapia (Oreochromis sp.). Fish & Shellfish Immunology.

7. Tanvetthayanont, P., Yata, T., Boonnil, J., Temisak, S. and Ponglowhapan, S., 2022. Validation of droplet digital PCR for cytokeratin 19 mRNA detection in canine peripheral blood and mammary gland. Scientific Reports, 12(1), pp.1-9.

8. Bunnoy, A., Thangsunan, P., Chockmamgmepisarn, P., Yata, T., Klongklaew, N., Pirarat, N., Kitiyodom, S., Srisapoome, P. and Rodkhum, C., 2022. Mucoadhesive cationic lipid-based Flavobacterium oreochromis nanoencapsulation enhanced the efficacy of mucoadhesive immersion vaccination against columnaris disease and strengthened immunity in Asian sea bass (Lates calcarifer). Fish & Shellfish Immunology. (Impact Factor 4.581)

9. Asavarut, P., Waramit, S., Suwan, K., Marais, G.J., Chongchai, A., Benjathummarak, S., Al‐Bahrani, M., Vila‐Gomez, P., Williams, M., Kongtawelert, P. and Yata, T., 2022. Systemically targeted cancer immunotherapy and gene delivery using transmorphic particles. EMBO Molecular Medicine, p.e15418. (Impact Factor 12.137)

10. Nittayasut, N., Yindee, J., Boonkham, P., Yata, T., Suanpairintr, N. and Chanchaithong, P., 2021. Multiple and High-Risk Clones of Extended-Spectrum Cephalosporin-Resistant and bla NDM-5-Harbouring Uropathogenic Escherichia coli from Cats and Dogs in Thailand. Antibiotics, 10(11), p.1374.

11. Sakamula, R., Yata, T. and Thong-Asa, W., 2022. Nanostructure lipid carriers enhance alpha-mangostin neuroprotective efficacy in mice with rotenone-induced neurodegeneration. Metabolic Brain Disease, 37(5), pp.1465-1476.

12. Chaiin, P., Yostaworakul, J., Rungnim, C., Khemthong, P., Yata, T. and Boonrungsiman, S., 2022. Self-calcifying lipid nanocarrier for bone tissue engineering. Biochimica et Biophysica Acta (BBA)-General Subjects, 1866(2), p.130047.

13. Serebrum, R.I., SAKAMULA, R., YATA, T. and THONG-ASA, W.A.C.H.I.R.Y.A.H., 2021. Effects of Alpha-Mangostin Encapsulated in Nanostructured Lipid Carriers in Mice with Cerebral Ischemia Reperfusion Injury. Sains Malaysiana, 50(7), pp.2007-2015.

14. Temisak, S., Thangsunan, P., Boonnil, J., Yenchum, W., Hongthong, K., Oss Boll, H., Yata, T & Morris, P. Accurate determination of meat mass fractions using DNA measurements for quantifying meat adulteration by digital PCR. International Journal of Food Science & Technology.

15. Keaswejjareansuk, W., Keawmaloon, S., Sawangrat, N., Puttipipatkhachorn, S., Yata, T., Maitarad, P., ... & Namdee, K. (2021). Degradable alginate hydrogel microfiber for cell-encapsulation based on alginate lyase loaded nanoparticles. Materials Today Communications, 102701.

16. Khuntawee, W., Amornloetwattana, R., Vongsangnak, W., Namdee, K., Yata, T., Karttunen, M., & Wong-ekkabut, J. (2021). In silico and in vitro design of cordycepin encapsulation in liposomes for colon cancer treatment. RSC Advances, 11(15), 8475-8484.

17. Kitiyodom, S., Trullàs, C., Rodkhum, C., Thompson, K.D., Katagiri, T., Temisak, S., Namdee, K., Yata, T. and Pirarat, N., 2021. Modulation of the mucosal immune response of red tilapia (Oreochromis sp.) against columnaris disease using a biomimetic-mucoadhesive nanovaccine. Fish & Shellfish Immunology, 112, pp.81-91.

18. Khuntawee, W., Amornloetwattana, R., Vongsangnak, W., Namdee, K., Yata, T., Karttunen, M., & Wong-ekkabut, J. (2021). In silico and in vitro design of cordycepin encapsulation in liposomes for colon cancer treatment. RSC Advances, 11(15), 8475-8484. (Impact Factor 3.070)

19. Tsafa, E., Bentayebi, K., Topanurak, S., Yata, T., Przystal, J., Fongmoon, D., Hajji, Nabil., Waramit, S., Suwan, Kiettisak., and Hajitou, A. (2020) Doxorubicin Improves Cancer Cell Targeting by Filamentous Phage Gene Delivery Vectors Int. J. Mol. Sci. 21(21), 7867 (Impact Factor 4.556)

20. Kengkittipat, W., Kaewmalun, S., Khongkow, M., Iempridee, T., Jantimaporn, A., Bunwatcharaphansakun, P., Yostawonkul, J., Yata, T., Phoolcharoen, W. & Namdee, K. (2020). Improvement of the Multi-performance Biocharacteristics of Cordycepin using BiloNiosome-core/chitosan-shell Hybrid Nanocarriers. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces, 111369. (Impact Factor 4.389)

21. Dana, P., Bunthot, S., Suktham, K., Surassmo, S., Yata, T., Namdee, K., Yingmema, W., Yinsoo, T., Rungsardthong Ruktanonchai, U., Sathornsumetee, S & Saengkrit, N. (2020). Active targeting liposome-PLGA composite for cisplatin delivery against cervical cancer. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces, 111270. (Impact Factor 4.389)

22. Yostawonkul, J., Nittayasut, N., Phasuk, A., Junchay, R., Boonrungsiman, S., Temisak, S., ... & Yata, T. (2020). Nano/microstructured hybrid composite particles containing cinnamon oil as an antibiotic alternative against food-borne pathogens. Journal of Food Engineering, 110209. (Impact Factor 3.625)

23. Kaewchangwat, N., Thanayupong, E., Jarussophon, S., Niamnont, N., Yata, T., Prateepchinda, S.,…. & Suttisintong, K. (2020). Coumarin Caged Compounds of 1-
Naphthaleneacetic Acid as Light-Responsive Controlled-Release Plant Root Stimulators. Journal of Agricultural and Food Chemistry. (Impact Factor 3.154)

24. Kitiyodom, S., Yata, T., Yostawonkul, J., Kaewmalun, S., Nittayasut, N., Suktham, K., Surassmo, S., Namdee, K., Rodkhum, C. and Pirarat, N., 2019. Enhanced efficacy of immersion vaccination in tilapia against columnaris disease by chitosan-coated “pathogen-like” mucoadhesive nanovaccines. Fish & shellfish immunology (2019). (IF 3.185)

25. Suwan K, Yata T, Waramit S, Przystal JM, Stoneham CA, Bentayebi K, Asavarut P, Chongchai A, Pothachareon P, Lee KY, Topanurak S, Smith TL, Gelovani JG, Sidman RL, Pasqualini R, Arap W, Hajitou A. (2019). Next-generation of targeted AAVP vectors for systemic transgene delivery against cancer. Proceedings of the National Academy of Sciences, 201906653. Impact factor: 9.58

26. Khongkow, M., Yata, T., Boonrungsiman, S., Ruktanonchai, U. R., Graham, D., & Namdee, K. (2019). Surface modification of gold nanoparticles with neuron-targeted exosome for enhanced blood–brain barrier penetration. Scientific reports, 9(1), 8278. Impact factor: 4.847

27. Yostawonkul J., Kitiyodom S., Kaewmalun S., Suktham K., Nittayasut N., Khongkow, M, Namdee K, Ruktanonchai U R, Rodkhum C, Pirarat, Surassmo S and Yata T. Bifunctional clove oil nanoparticles for anesthesia and anti-bacterial activity in Nile tilapia (Oreochromis niloticus). Aquaculture 503 (2019): 589-595. (IF 2.710)

28. Kitiyodom S, Kaewmalun S, Nittayasut N, Suktham K, Suvimol Surassmo S, Namdee K, Rodkhum C, Pirarat* and Yata T*. The potential of mucoadhesive polymer in enhancing efficacy of direct immersion vaccination against Flavobacterium columnare infection in tilapia." Fish & shellfish immunology 86 (2019): 635-640. (IF 3.185)

29. Boonthum C, Namdee K, Khongkow M, Temisak S, Chatdarong K, Sajomsang W, Ponglowhapan S, Yata T. Gonadotropin-releasing hormone-modified chitosan as a safe and efficient gene delivery vector for spermatogonia cells. Reprod Domest Anim. 2018 Nov;53 Suppl 3:23-28. . Impact factor: 1.422

30. Namdee K, Khongkow M, Boonrungsiman S, Nittayasut N, Asavarut P, Temisak S, Saengkrit N, Puttipipatkhachorn, Hajitou A and Yata T. Thermoresponsive bacteriophage nanocarrier as a gene delivery vector targeted to the gastrointestinal tract. Molecular Therapy-Nucleic Acids. 2018 Apr 27: 12:33-44. Impact factor: 5.158

31. Piboonprai K, Khumkhrong P, Khongkow M, Yata T, Ruangrungsi N, Chansriniyom C, Iempridee T. 2018. Anticancer activity of arborinine from Glycosmis parva leaf extract in human cervical cancer cells. Biochem Biophys Res Commun. S0006-291X(18)30968-9. Impact factor: 2.466

32. Namdee, K., Khongkow, M., Boonthod, S., Boonrungsiman, S., Jarussophon, S., Pongwan, P., Yata, T. and Sangkrit, N., 2018. Development of cell-based assay for characterizing cell adhesion properties of active targeted nanoparticles using an integrated flow chamber. Journal of Drug Delivery Science and Technology.

33. Yostawonkul J, Surassmo S, Namdee K, Khongkow M, Boonthum C, Pagseesing S, Saengkrit N,Ruktanonchai U R, Chatdarong K, Ponglowhapan S, and Yata T* Nanocarrier-mediated delivery of α-mangostin for non-surgical castration of male animals. Nature Scientific Reports. 2017. Nov 24;7(1):16234. Impact factor: 4.847

34. Pagseesing S, Yostawonkul J, Surassmo S, Boonrungsiman S, Namdee K, Khongkow M, Boonthum C, Iempridee T, Ruktanonchai U R, Saengkrit N, Chatdarong K, Ponglowhapan S*, and Yata T*. Formulation, physical, in vitro and ex vivo evaluation of nanomedicine-based chemosterilant for non-surgical castration of male animals. Theriogenology. 2017 Dec 5;108:167-175.Impact factor: 2.127

35. Boonthum C, Namdee K, Boonrungsiman S, Chatdarong K, Saengkrit N, Sajomsang W, Ponglowhapan S*, Yata T*. Chitosan-based DNA delivery vector targeted to gonadotropin-releasing hormone (GnRH) receptor. Carbohydr Polym. 2017 Feb 10;157:311-320. Impact factor: 5.660

36. Saesoo S, Bunthot S, Sajomsang W, Gonil P, Phunpee S, Songkhum P,Laohhasurayotin K, Wutikhun T, Yata T, Ruktanonchai U, Saengkrit N. Phospholipid-chitosan hybrid nanoliposomes promoting cell entry for drug delivery against cervical cancer. Journal of Colloid & Interface Science. 2016 Oct 15;480:240-248 Impact factor: 4.233

37. Donnelly A, Yata T, Bentayebi K, Suwan K, Hajitou A. Bacteriophage Mediates Efficient Gene Transfer in Combination with Conventional Transfection Reagents. Viruses. 2015 Dec 8;7(12):6476-89. Impact factor: 3.465

38. Yata T, Lee KY, Dharakul T, et al. Hybrid Nanomaterial Complexes for Advanced Phage-guided Gene Delivery. Molecular therapy Nucleic acids 2014; 3 : e185

39. Yata T, Lee EL, Suwan K, Syed N, Asavarut P, Hajitou A. Modulation of Extracellular Matrix in Cancer is associated with Enhanced Tumour Cell Targeting by Bacteriophage Vectors. Molecular Cancer 2015. 3;14:110.

40. Kia,A., Yata, T., Hajji, N., Hajitou, A. Inhibition of histone deacetylation and DNA methylation improves gene expression mediated by the adeno-associated virus/phage in cancer cells. Viruses. 2013 October; 5(10): 2561-2572.

41. Przystal, J. M.,Umukoro, E.,Stoneham, C. A. Yata, T. O'Neill, K. Syed, N. Hajitou, A. Proteasome inhibition in cancer is associated with enhanced tumor targeting by the adeno-associated virus/phage. Mol Oncol. 2013 February; 7(1): 55–66.
BOOK CHAPTER

42. Sansanaphongpricha, K., Dana, P., Yata, T., and Saengkrit., N. Cancer nanomedicine. Handbook of Nanotechnology Applications. Micro & Nanotechnologies Series. Lau, W.J. et al., (editors). Elsevier. 2020. Pages 537-560.

43. Yata T, Nianiaris N, Songsivilai S, and Hajitou A. Bacteriophage: from Bacteria to a Successful Targeted Systemic Gene Delivery for Cancer. Gene Therapy of Cancer, 3rd Edition. Lattime E and Gerson S (editors). 2013. Pages 479-490.


รางวัลทางด้านงานวิจัย/ นวัตกรรมที่ได้รับตลอดช่วงการทำงาน

1. รางวัลผลงานวิจัยแห่งชาติที่มีผลกระทบสูง ประจำปี 2565 Prime Minister’s TRIUP Award for Research Utilization with High Impact 2022 สาขาเทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology) โดยได้รับรางวัลระดับยอดเยี่ยม จากผลงาน “เทคโนโลยีและการถ่ายทอดความรู้เพื่อการจัดการโรคอุบัติใหม่สำหรับฟาร์มปลานิลและปลานิลแดงในประเทศไทยและต่างประเทศ” ซึ่งได้รับโล่รางวัลและใบประกาศเกียรติคุณจากนายกรัฐมนตรี และเงินรางวัลจากกองทุนส่งเสริม ววน.

2. รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ระดับดีมาก สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปี 2565 จัดโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ระดับชาติ) จากผลงานเรื่อง การบูรณาการองค์ความรู้จากการวิจัยเชื้อฟลาโวแบคทีเรียมคอลัมแนร์สู่นวัตกรรมนาโนวัคซีนเกาะติดเนื้อเยื่อเมือกเพื่อป้องกันโรคคอลัมนาริสในปลาน้ำจืดอย่างยั่งยืน

3. รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น รางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปี 2565 จัดโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ระดับชาติ) จากผลงานเรื่อง วัคซีนแช่นาโนแบบเกาะติดเยื่อเมือกต้านโรคเหงือกเน่าในปลา

4. ได้รับการยกย่อง ในฐานะผู้ที่สร้างชื่อเสียงเกียรติคุณและนำความภาคภูมิใจมาสู่มหาวิทยาลัย จากการได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ ในพิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2563

5. รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประจำปี พ.ศ.2563 ประเภทกลุ่ม จากผลงานการประดิษฐ์ เรื่อง “นาโนวัคซีนแบบจุ่มโดยเลียนแบบเชื้อก่อโรคในปลา” โดยมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ และเข้ารับโล่พระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

6. รางวัลศิษย์เก่าสหราชอาณาจักรดีเด่นประจำประเทศไทย 2020 สาขา Entrepreneurship (รางวัลที่มอบสำหรับศิษย์เก่าสหราชอาณาจักรที่คิดค้น ริเริ่มแนวคิดนวัตกรรมใหม่ หรือแนวทางและโอกาสทางธุรกิจอย่างแตกต่างที่มาพร้อมกับศักยภาพที่จะเติบโตอย่างมั่นคง) โดย บริติช เคานซิล ประเทศไทย ร่วมกับ สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย

7. รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2562 จากผลงาน "ตัวพาอนุภาคนาโน เพื่อการนำส่งยาในร่างกายอย่างแม่นยำ” โดยมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์พร้อมโล่พระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

8. รางวัล Nagai Award Thailand 2019 สาขา Pharmaceutical Sciences จาก The Nagai Foundation, Tokyo ในงานประชุมวิชาการ 35th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences (IAMPS35) and CU-MPU International Collaborative Research Conference จากผลงานนวัตกรรม เรื่อง Thermo-responsive Bacteriophage Nanocarrier as a Gene Delivery Vector targeted to Mammalian Cells ซึ่งเป็นพาหะนำส่งระดับนาโนจากแบคทิริโอฟาจที่ถูกดัดแปลงเพื่อการนำส่งอย่างมีเป้าหมายของดีเอ็นเอวัคซีน รางวัลด้านนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์

9. รางวัล Grand Prize จากผลงานเรื่อง การทำวัคซีนปลาด้วยนวัตกรรมไร้เข็ม (Fish Vaccination by “Needle-free Innovation) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน“Seoul International Invention Fair 2021” (SIIF 2021) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

10. รางวัลเหรียญเงิน จากผลงานเรื่อง สารควบคุมการเคลื่อนไหวในสัตว์น้ำ (AQUAPEACE-PLUS) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน “Seoul International Invention Fair 2021” (SIIF 2021) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

11. รางวัลเหรียญทอง จากผลงานเรื่อง การทำวัคซีนปลาด้วยนวัตกรรมไร้เข็ม (Fish Vaccination by “Needle-free Innovation) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน “The 32nd International Invention, Innovation & Technology Exhibition” (ITEX 2021) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

12. รางวัลเหรียญเงิน จากผลงานเรื่อง การทำวัคซีนปลาด้วยนวัตกรรมไร้เข็ม (Fish Vaccination by “Needle-free Innovation) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน 2021 Kaohsiung International Invention & Design Expo (KIDE) ณ เมืองเกาสง ไต้หวัน

13. รางวัลเหรียญทอง จากผลงานเรื่อง นวัตกรรมนาโนเจลสูตรน้ำสำหรับทดแทนการอาบน้ำสำหรับสัตว์เลี้ยงป่วย หลังทำวัคซีน หรือมีบาดแผลซึ่งห้ามโดนน้ำ (An Innovative Bath-substituting HydroNanogel for Ill, Vaccinated or Wounded Pet Animals) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน “2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 – 20 สิงหาคม 2564 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

14. รางวัลเหรียญทอง จากผลงานเรื่อง นวัตกรรมสเปรย์สมุนไพรนาโนสูตรเย็นบรรเทาอาการปวดเมื่อย (An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน “2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 – 20 สิงหาคม 2564 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

15. รางวัลเหรียญทอง จากผลงานเรื่อง นวัตกรรม โบทิน่า แอคเมลลา นาโนเอนแคปซูเลท เฟเชียล สลีพพิ้ง มาส์ก (Acmella NanoEncapsulated Particle Facial Sleeping Mask) จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในงาน “2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 – 20 สิงหาคม 2564 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

16. เหรียญทองแดง นวัตกรรมสเปรย์สมุนไพรนาโนสูตรเย็นบรรเทาอาการปวดเมื่อย (An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts) จากงานประกวดนวัตกรรม “Shanghai International Invention & Innovation
Expo (SIIIE) 2021” ณ นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 15-17 เมษายน พ.ศ. 2564 (Online Show)

17. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากผลงาน “ไมโครแคปซูลอัจฉริยะ นวัตกรรมที่ช่วยกักเก็บ สารอาหารที่มีประโยชน์ และปล่อยเข้าสู่ร่างกายสัตว์ ได้อย่างจำเพาะเจาะจงและเต็มประสิทธิภาพ” จากโครงการ Young Technopreneur 2018 ซึ่งเวทีที่ค้นหาสุดยอดผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยี ที่มีไอเดียด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี

18. รางวัลเหรียญเงิน (Silver Medal) จากผลงานเรื่อง "อนุภาคนาโนทิลมิโคซินสำหรับการป้องกันและรักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจในสัตว์เศรษฐกิจ" จากการเข้าร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน “46 th International Exhibition of Inventions Geneva” ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11-15 เมษายน 2561 กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

19. รางวัลเหรียญทองแดง (Bronze Medal) จากผลงาน เรื่อง บิโลนิโอโซม: อนุภาคนาโนลูกผสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการนำส่งสารอาหารกลุ่มไมโครนิวเทรียนท์ (วิตามินและเกลือแร่) ผ่านระบบทางเดินอาหารสำหรับการเลี้ยงปศุสัตว์ จากการเข้าร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน “46 th International Exhibition of Inventions Geneva” ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11-15 เมษายน 2561กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

20. รางวัลเหรียญเงิน (Silver Medal) จากผลงานเรื่อง “ระบบนำส่งวัคซีนต้านเชื้อสเตรปโตคอคคัสเพื่อการพัฒนาวัคซีนแบบจุ่มที่สภาวะความดันออสโมติกสูงสำหรับปลานิล” จากการเข้าร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน “the 13th Invention and prototype show and student business plan competition 42th International Invention Show, (budi uzor inova 2017)” ประเทศโครเอเชีย

21. รางวัลเหรียญทอง และเหรียญเกียรติยศ “Tilmicosin Nanoparticle: Innovative Strategy for the Oral Delivery of Tilmicosin Antimicrobial Agent using Nanoscale Carrier” was awarded with Gold medal and Special Prize. 11th International Warsaw Invention Show (IWIS2017). ณ กรุงวอซอร์ ประเทศโปแลนด์ ระหว่างวันที่ 9 - 11 ตุลาคม 2560

22. A winner of the Best Oral Presentation Award. โครงการประชุมวิชาการนานาชาติทางสัตวแพทย์และการเลี้ยงสัตว์ ประจำปี 2560 (การประชุมวิชาการทางสัตวแพทย์และการเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 42) The International Conference on Veterinary Sciences 2017 วันที่ 22 – 24 พฤศจิกายน ๒๕๖๐ สถานที่ ศูนย์ประชุมอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี


23. A winner of the Outstanding Oral Presentation Award (Diseases and R&D for Sustainable Health) the 23th Annual Medical Science Conference 2015, Bangkok, THAILAND.

ผศ.น.สพ.ดร.ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล

ผลงานทางวิชาการ 

งานวิจัย

บทความวิจัยในวารสาร

  1. Sirilak Meesuwan, Dettachai Ketpun, Prapruddee Piyaviriyakul, Kasem Rattanapinyopituk, Pattharakrit Theewasutrakul and Achariya Sailasuta. Immunohistochemical and molecular profiling of CD 117, Oct-4, and Sox-2 in canine cutaneous mast cell tumor of the crossbred dogs in Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand. Veterinary World, EISSN: 2231-0916 Vol. 14 October 2021 p.2646-2654
  2. Nongnut Assawawongkasem, Somporn Techangamsuwan, Prapruddee Piyaviriyakul, Pranom Puchadapirom, Achariya Sailasuta. Involucrin, cytokeratin 10 and Ki67 expression in a three-dimensional cultured canine keratinocyte cell line in comparison to canine skin and cutaneous squamous cell carcinoma and a pilot study on custom-designed siRNA-INV transfection. TJVM, 2020. 50(1) p.31-43.
  3. Thammawit Suwannaphan , Werayut Srituravanich, Achariya Sailasuta, Prapruddee Piyaviriyakul, Suchaya Bhanpattanakul, Wutthinan Jeamsaksiri, Witsaroot Sripumkhai and Alongkorn Pimpin. Investigation of Leukocyte Viability and Damage in Spiral Microchannel and Contraction-Expansion Array. Micromachines. 2019 (10) 772 p.1-19. doi:10.3390/mi10110772
  4. Dettachai Ketpun, Alongkorn Pimpin, Tewan Tongmanee, Sudchaya Bhanpattanakul, Prapruddee Piyaviriyakul, Weerayut Srituravanich, Witsaroot Sripumkhai, Wutthinan Jeamsaksiri and Achariya Sailasuta. A Potential Application of Triangular Microwells to Entrap Single Cancer Cells: A Canine Cutaneous Mast Cell Tumor Model. Micromachines. 2019 (10) 184 p.1-15. doi:10.3390/mi10120841

   รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์ (ที่มี peer review)

  1. T. Siha-umpha, C. Tawatcharaporn, M. Sinsiriphan, A. Chalermchuang, S. Bhanpattanakul, T. Wongpakham, P. Piyaviriyakul, M. Chanasakulniyom, W. Jeamsaksiri, W. Sripumkhai, A. Pinpim, A. Sailasuta and T. Kaewamatawong. Comparison of Cell Trapping Efficacy in Different Loading Methods on Polydimethylsiloxane Microfluidic Device System. Proceeding of ISWAVLD2019. 19-22 June 2019, Chaing Mai, Thailand. p. 450-452.
  2. S. Bhanpattanakul, T. Wongpakham C. Tawatcharaporn, T. Siha-umphai, M. Sinsiriphan, A. Chalermchuang, P. Piyaviriyakul, M. Chanasakulniyom, W. Jeamsaksiri, W. Sripumkhai, A. Pimpin, A. Sailasuta and T. Kaewamatawong . 2019, Comparison of single cell culturing efficacy in different loading methods on polydime thylsiloxane Microfluidic Device System.The 19th ISWAVLD2019 (The 19th International Symposium of World Association of Veterinary Laboratory Diagnosticians), Chiang Mai, Thailand,19th -22nd June, 2019. (International)
  3. S. Meesuwan, K. Rattanapinyopituk, P. Piyaviriyakul, N. Houngkamhang, and A. Sailasuta. Preliminary Detection of Oct-4 Embryonic Transcription Factors Protein in Canine Cutaneous Mast cell tumor by Surface Plasmon Resonance Technique. Proceeding of ISWAVLD2019. 19-22 June 2019, Chaing Mai, Thailand. p. 405-407.
  4. T. Suwannaphan, A. Pimpin, A. Sailasuta, P. Piyaviriyakul, S. Bhanpattanakul, W. Jeamsaksiri, W. Sripumkhai, and A. Kamnerdsook. Investigation of White Blood Cells in A Contraction–Expansion Microchannel Array —Trypan Blue, SEM and Wright’s Stain. Proceeding of ISWAVLD2019. 19-22 June 2019, Chaing Mai, Thailand. p. 210-212.
  5. Thammawit Suwannaphan, Alongkorn Pimpin, Achariya Sailasuta, Prapruddee Piyaviriyakul, Sudchaya Bhanpattanakul, Dettachai Ketpun and Wutthinan Jeamsaksiri. Effects of Extensional and Shear Stresses on Cells– The Case Study of White Blood Cells in A Setup of Spiral Microchannel. Proceeding of the 9th Asia-Pacific Conference of Transducers and Micro-Nano Technology (APCOT 2018). June 24-27, 2018, HKUST, Hong Kong SAR
  6. Thammawit Suwannaphan, Werayut Srituravanich, Wutthinan Jeamsaksiri, Witsaroot Sripumkhai, Achariya Sailasuta, Theerayuth Kaewamatawomg, Prapruddee Piyaviriyakul, Suchaya Bhanpattanakul and Alongkorn Pimpin*. Investigation of Leukocyte Viability in A Setup of Spiral Microchannel for Cell Sorting Application. The 2018 Biomedical Engineering International Conference (BMEiCON-2018). Chiangmai, Thailand. November 22-14, 2018.
  7. S. Bhanpattanakul, A. Sailasuta, P. Piyaviriyakul, T. Kaewamatawong, P. Theewasutrakul, D. Ketpun, A. Pinpim, W. Srituravanich, T. Tongmanee, T. Suwannaphan, W. Jeamsaksiri, W. Sripumkhai, P. Pattamang, M. Chanasakulniyom. In-house Polydimethylsiloxane Microfluidic Device on Single-cell trapping and culturing of Leukemia cell line: cellular study and analysis. Proceeding of the 9th Asia-Pacific Conference of Transducers and Micro-Nano Technology (APCOT 2018). June 24-27, 2018, HKUST, Hong Kong SAR.
  8. N. Assawawongkasem, S. Techangamsuwan, P. Piyaviriyakul, A. Sailasuta. Investigation of UVB-Radiation Induced on Canine Keratinocytes Cell Line. Proceeding of the 17th Chulaonkorn University Veterinary Conference. CUVC 2018: Apr 25-27, 2018, Bangkok, Thailand. 67.
  9. S. Meesuwan, K. Rattanapinyopituk , P. Piyaviriyakul, A. Sailasuta. Detection on the Embryonic transcription factors Oct-4, Nanog, and Sox-2 Proteins in Canine Cutaneous Mast Cell Tumors by Immunocytofluorescence technique. Proceeding of the 17th Chulaonkorn University Veterinary Conference. CUVC 2018: Apr 25-27, 2018, Bangkok, Thailand. 47-48.

  ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 

  1. อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16171 อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ชิปแบบฟิลเตอร์สไปรัลสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด
  2. อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16568 อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ชิปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าน้ำสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด
  3. อนุสิทธิบัตร เลขที่ 16569 อุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ชิปแบบฟิลเตอร์หยดน้ำสำหรับตรวจไมโครฟิลาเรียในเลือด

  

ผศ.สพ.ญ.ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์

ผลงานทางวิชาการ

บทความวิจัยในวารสาร

  1. Chutimon Thanaboonnipat, Nan Choisunirachon, Chalika Wangdee, Srireepong Kiertkrittikhoon, Voraphan Na Songkhla, Sirakarnt Dhitavat, Chanyaratt Chaichareonchon, Lampetch Vimuktalop, Kiatpichet Komin. 2021. The feasibility and image quality of using soft embalming cadaver dogs and cats for radiographic and ultrasonographic training. Thai J Vet Med. 51(3) p. 543-549.
  2. Sariya Asawakarn, Sirakarnt Dhitavat, Sujin Sirisawadi, Nanthida Kunnasut, Patchana Kamkong, Piyanan Taweethavornsawat. 2020. Abnormalities of serum protein patterns in canine hepatozoonosis by electrophoretic technique. Thai J Vet Med. 2020. 50(Suppl.). p. 49-51.
  3. Sujin Sirisawadi, Wanpen Adulyanubap, Kasorn Aiamlaall, Khrid Hutsaket, Sirakarnt Dhitavat, Sariya Asawakarn, Nanthida Kunnasut. 2020. The study of protein electrophoresis patterns in dogs with increasing alanine 146 aminotransferase enzyme. Thai J Vet Med. 50(Suppl.) p. 146-148.
  4. Sariya Asawakarn, Intuorn Teeranuwat, Natchaya Watcharaprapapong, Nutta Siriwatchaiporn, Panithan Somsai, Mullika Kuldee, Gunnaporn Suriyaphol, Sirakarnt Dhitavat. 2018. Comparison of dried blood spot, buccal swab, cloacal swab and feces as DNA sources to identify avian sexes by PCR. TJVM. 48 (3). p. 325-330.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

อนุสิทธิบัตร

  1. น้ำยาถนอมร่างสัตว์แบบนิ่มโดยใช้เคมีภัณฑ์เครื่องสำอาง

      เลขที่อนุสิทธิบัตร 13610 ออกให้ ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

  1. ชุดทดสอบแมกนีเซียม

     เลขที่อนุสิทธิบัตร 15834 ออกให้ ณ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2563

  1. น้ำยาถนอมร่างอาจารย์ใหญ่เพื่อการศึกษากายวิภาคทางสัตวแพทย์

     เลขที่คำขอ 1903002419 วันยื่นคำขอ 20 กันยายน 2562

  1. กรรมวิธีการผลิตชุดทดสอบโปรตีนและกรดอะมิโน

     เลขที่คำขอ 1903003177 วันยื่นคำขอ 23 ธันวาคม 2562

 

นางสาว สุจินต์ ศิริสวัสดิ์

Research of interest:  Serum protein profiles zone electrophoresis

Publications:

  1. Permkam, C., Suriyaphol, G., Sirisawadi, S., Tuntivanich, N. Biological Compositions of Canine Amniotic Membrane and Its Extracts and the Investigation of Corneal Wound Healing Efficacy In Vitro. Vet Sci 2022, 9(5), 227. doi :10.3390/vetsci9050227 SCOPUS, SJR - Q1 / Impact Factor 2022 = 2.4
  2. Banyatworakul, P., Pirarat, N., Sirisawadi, S., Osathanon, T., Kalpravidh, C. Efficacy of bubaline blood derived fibrin glue in silk ligature-induced acute periodontitis in Wistar rats. Vet World, 2021, 14(10), 2602–2612. doi: 10.14202/vet world.2021.2602-2612.SCOPUS, SJR-Q2 / Impact Factor 2022 = 1.6
  3. Asawakarn, S., Sirisawadi, S., Kunnasut, N., Kamkong, P., Taweethavonsawat, P. Serum protein profiles and C-reactive protein in natural canine filariasis. Vet World. 2021, 14(4), 860-864. doi: 10.14202/vet world.2021.860-864.SCOPUS, SJR-Q2 / Impact Factor 2022 = 1.6
  4. Nuntapaitoon, M., Sirisawadi, S., Asawakarn, S., Tummaruk, P. Accuracy of portable human glucose meter (Accu-chek® performa) for blood glucose measurement in newborn piglets. Thai Journal of Veterinary Medicine, 2019, 49(1). 37–42.SCOPUS, SJR -Q3 / Impact Factor  2022 = 0.4
  1. Suriyaphol, G., Kunnasut, N., Sirisawadi, S., Wanasawaeng, W., Dhitavat, S. Evaluation of dried blood spot collection paper blotters for avian sexing by direct PCR. British Poultry Science, 2014, 55(3), 321–328. doi: 10.1080/00071668.2014.925087.SCOPUS, SJR -Q2 / Impact Factor 2022 = 2.0
  2. Pothiwong, W., Laorpaksa, A., Pirarat, N., Sirisawadi, S., Intarapanya, J., Jianmongkol, S. Autoxidation of brain homogenates from various animals as measured by thiobarbituric acid assay. J Pharmacol Toxicol Methods, 2007, 56(3), 336–8. doi: 10.1016/j.vascn.2007.08.004.SCOPUS, SJR -Q3 / Impact Factor 2022 = 1.9
  3. Kubantakien, P., Asawakarn, S., Sirisawadi, S., Pusoonthornthum, R. Role of Calcium-activated Potassium Channel KCa3.1 in TGF-β/signaling in Doxorubicin-treated Crandell-Rees Feline Kidney (CRFK) Cells. Thai J Vet Med. 2023, 53(Suppl.): 119-120.SCOPUS, SJR -Q3 / Impact Factor 2022 = 0.4
  4. Asawakarn, S., Vachirapoca, Y., Sirisawadi, S., Kunnasut, N., Dhitavat, S. The Effect of food additive potassium nitrate on the feline kidney cell line. Thai J Vet Med, 2023, 53(Suppl.): 125.126.SCOPUS, SJR -Q3 / Impact Factor  2022 = 0.4

โครงการวิจัยอื่นๆ ที่กำลังดำเนินการ

1. ชื่อโครงการ (ไทย) การพัฒนาอนุภาคนาโนเวสิเคิลทรานซ์เฟอโรโซมกักเก็บสารสกัดจากรกสุกร เพื่อใช้เป็นส่วนผสมฟังก์ชันมูลค่าสูง                               ในเวชสำอางและอาหารสัตว์

                 (อังกฤษ) Development of pig placenta extract-encapsulated nanovasicular transferosomes as                                      high-value functional ingredient for cosmeceuticals and feed supplements

                              แหล่งทุน สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร  งบประมาณ  3,850,000 บาท ปีที่ได้ 15 พฤษภาคม 2565

๑. ชุดทดสอบคุณภาพน้ำ   

    ๑.๑ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 3825 ยื่นคำขอวันที่ 23 เมษายน 2550 เรื่อง ชุดทดสอบแอมโมเนีย เลขที่คำขอ0703000466

    ๑.๒ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 4476 ยื่นคำขอวันที่ 14 มกราคม 2551 เรื่อง ชุดทดสอบความเป็นกรดด่าง เลขที่คำขอ 0803000046

    ๑.๓ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 4477 ยื่นคำขอวันที่ 14 มกราคม 2551 เรื่อง ชุดทดสอบความเป็นด่าง เลขที่คำขอ 0803000047

    ๑.๔ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 4695 ยื่นคำขอวันที่ 14 มกราคม 2551 เรื่อง ชุดทดสอบไนไตรต์ เลขที่คำขอ 0803000048

๒. อุปกรณ์วัดค่าความเข้มข้นของก๊าซแอมโมเนีย

    ๒.๑. อนุสิทธิบัตร เลขที่ 2272 ยื่นคำขอวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2548 เรื่อง อุปกรณ์วัดค่าความเข้มข้นของก๊าซแอมโมเนีย

            เลขที่คำขอ 0503000167

    ๒.๒. อนุสิทธิบัตร เลขที่ 2986 ยื่นคำขอวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2548 เรื่อง อุปกรณ์วัดค่าความเข้มข้นโดยเฉลี่ยของก๊าซแอมโมเนีย

            เลขที่คำขอ 0503000166

๓.  กรรมวิธีการเตรียมอนุภาคนาโน

       ๓.๑ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21690 ยื่นคำขอวันที่ 12 ตุลาคม 2563 เรื่อง องค์ประกอบไฮโดรเจลกักเก็บอนุภาคนาโนที่ห่อหุ้มน้ำมัน            หอมระเหยและกรรมวิธีการเตรียม เลขที่คำขอ 2003002706

       ๓.๒ อนุสิทธิบัตร เรื่อง องค์ประกอบอนุภาคนาโนน้ำมันเอ็มซีทีห่อหุ้มสารสกัดจากเปลือกมังคุด ยื่นคำขอวันที่ 27 มีนาคม 2566

       เลขที่คำขอ 2303000211

       ๓.๓ อนุสิทธิบัตร เรื่อง องค์ประกอบอนุภาคนาโนกักเก็บน้ำมันกานพลูร่วมกับน้ำมันอบเชย ยื่นคำขอวันที่ 6 มีนาคม 2566

        เลขที่คำขอ 2303000484

๔. อื่นๆ

       ๔.๑ อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21980 เรื่อง กรรมวิธีการผลิตชุดทดสอบโปรตีนและกรดอะมิโน ยื่นคำขอวันที่ 11 ธันวาคม 2562

             ยื่นคำขอวันที่ เลขที่คำขอ 1903003177

      ๔.๒ อนุสิทธิบัตร เรื่อง กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดจากเยื่อหุ้มตัวอ่อนสุนัขในรูปแบบสารละลายและผงแห้ง

            สำหรับใช้รักษาแผลกระจกตาในสุนัข ยื่นคำขอวันที่ 24 ธค. 2564 เลขที่คำขอ 2103003750

รางวัลทางด้านงานวิจัย/ นวัตกรรมที่ได้รับตลอดช่วงการทำงาน

  1.   รางวัล ฟ้าหม่นคนดี Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award ด้าน นวัตกรรมและการพัฒนางาน –  สายปฏิบัติการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓
  2.  รางวัล จากผลงานเรื่อง สเปรย์น้ำหอมบำรุงขน กำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์สำหรับสัตว์เลี้ยง The Odour Control       Freshening Spray For Pets” ในการประกวดรางวัลนวัตกรรม 2022 13th International Innovation and     Invention Competition กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ประกอบด้วย

        2.1 รางวัล IIIC 2002 GOLD MEDAL AWARD

        2.2 รางวัล SPECIAL AWARD BY THE INTERNATIONAL FEDERATION OF INVENTORS' ASSOCIATION

             Focal Point Middle East (IFIA-FPME)

       2.3 รางวัล CANADIAN SPECIAL AWARD by Innovation Initiative C-operative Inc. "The Inventors Circle"-                 Toronto, Canada

  1. รางวัล จากผลงานเรื่อง นวัตกรรมสเปรย์พฤกษานาโนต้านไรฝุ่น “AN INNOVATIVE NANO-BOTANICAL SPRAY AGAINST DUST MITES” ในการประกวดรางวัลนวัตกรรม 2022 13th International Innovation and Invention Competition กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ประกอบด้วย

         3.1 รางวัล IIIC 2022 GOLD MEDAL AWARD

         3.2 รางวัล CANADIAN SPECIAL AWARD by Innovation Initiative C-operative Inc.

             "The Inventors Circle"- Toronto, Canada

       3.3 รางวัล SPECIAL AWARD OF ORGANIZATION FOR CREATIVITY Innovation & Invention Foundation                     (OCIIP)-Nigeria, Africa

  1. รางวัล จากผลงาน ชุดทดสอบโพแทศเซียม “Potassium Test Kit” ในการประกวด E-NNOVATE Internationnal Innovation Show 2023 ประเทศโปแลนด์ วันที่ 30-31 พค.2566

            4.1 รางวัลเหรียญทอง Gold Award

 

นางสาวนันทิดา คุณสุทธิ์

 

Publications:

  1. Evaluation of dried blood spot collection paper blotters for avian sexing by direct PCR
  2. Immunohistochemical Expression Profiles of Cell Adhesion Molecules,Matrix Metalloproteinases and their Tissue Inhibitors in Central and Peripheral Neoplastic Foci of Feline Mammary Carcinoma
  3. Preliminary study on the cytotoxicity of sodium tetraborate in the feline kidney cell line
  4. Comparative serum protein electrophoresis patterns in dogs,cats,and chickens
  5. The effect of food additive potassium nitrate on the feline kidney cell line

Petty Patents

1. เลขที่คำขอ 1303000498 เลขที่สิทธิบัตร 8958 ชื่อการประดิษฐ์ วิธีแยกเพศสัตว์ปีกที่บินได้ด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่. พอลิเมอเรสจากจุดเลือดแห้งบนกระดาษกรอง

2. เลขที่คำขอ 1803000697 เลขที่สิทธิบัตร 15834 ชื่อการประดิษฐ์ ชุดทดสอบแมกนีเซียม

3. เลขที่คำขอ 1903003177 เลขที่สิทธิบัตร 21980 ชื่อการประดิษฐ์ กรรมวิธีการผลิตชุดทดสอบโปรตีนและกรดอะมิโน

4. เลขที่คำขอ 1903003179 เลขที่สิทธิบัตร 19922 ชื่อการประดิษฐ์ ชุดทดสอบความกระด้าง

5. เลขที่คำขอ 2003002708 เลขที่สิทธิบัตร 21690 ชื่อการประดิษฐ์ องค์ประกอบไฮโดรเจลกักเก็บอนุภาคนาโนที่ห่อหุ้มน้ำมันหอมระเหยและกรรมวิธีการเตรียม

6.เลขที่คำขอ 2303000484 เลขที่สิทธิบัตร   รอ ชื่อการประดิษฐ์ องค์ประกอบอนุภาคนาโนอินทรีย์กักเก็บน้ำมันกานพลูร่วมกับน้ำมันอบเชยและวิธีการผลิต

7.เลขที่คำขอ 2303000211 เลขที่สิทธิบัตร  รอ ชื่อการประดิษฐ์ องค์ประกอบอนุภาคนาโนน้ำมันเอ็มซีทีห่อหุ้มสารสกัดจากเปลือกมังคุด

โครงการ บริการวิชาการ : การแยกเพศและตรวจโรคนกสวยงามด้วยวิธี PCR

หลักการ

     ในปีงบประมาณ 2555 หน่วยชีวเคมี ได้รับทุนวิจัยโครงการพิเศษ “การเปรียบเทียบการเก็บตัวอย่างเซลล์จากนกเพื่อใช้ในการแยกเพศ” ทำให้พบว่าการแยกเพศนกด้วยวิธี PCR มีความถูกต้องแม่นยำ และสามารถนำมาตรวจสอบเพศได้เป็นอย่างดี จึงได้จัดทำโครงการบริการวิชาการ “การตรวจเพศนกด้วยวิธี PCR” ขึ้นในปีงบประมาณ 2556 จนถึง 2565 พบว่ามีการตอบรับอย่างดี เริ่มมีผู้เลี้ยงและสถานประกอบการบำบัดโรคสัตว์หลายแห่งส่งตัวอย่างเข้ามารับบริการ รวมทั้งหน่วยงานเพื่อการอนุรักษ์ของราชการ นอกจากนี้ ทางหน่วยชีวเคมียังได้ทำวิจัยเพิ่มเติม และสามารถให้บริการในการตรวจโรคขนและจงอยปากผิดปกติ (Psittacine beak and feather disease) และ ตรวจหาเชื้อไวรัสในนก (Avian Polyoma Virus) อีกด้วย

วัตถุประสงค์

      เพื่อร่วมแก้ไขปัญหา การแยกเพศและตรวจโรคนกสวยงาม และ พัฒนางานวิจัยทางอณูชีววิทยาในการตรวจวินิจฉัย หรือพันธุศาสตร์ในสัตว์ปีกสวยงาม  

เป้าหมาย

     - ผู้เลี้ยงสัตว์ปีกสวยงามและฟาร์มเพาะเลี้ยง  
     - สถานประกอบการบำบัดโรคสัตว์
     - หน่วยงานเพื่อการอนุรักษ์ของราชการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

        1. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์ 
        2. รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล
        3. ผศ. น.สพ. ดร. ธวัช เล็กดำรงศักดิ์
        4. ผศ. สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์
        5. นางสาว นันทิดา คุณสุทธิ์
        6. นางสาว วราภรณ์ โชติสวัสดิ์
        7. นาง อภิญญา บินซัน

 

โครงการ บริการวิชาการ : บริการตรวจคุณภาพน้ำ แก่เกษตรกร

หลักการ

     หน่วยชีวเคมี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Veterinary Biochemistry Unit, VBC) ได้ตั้งโครงการ ตรวจวัดคุณภาพน้ำขึ้น ตั้งแต่ปี 2542 โดยหนึ่งในวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ การวิจัย ทดสอบ และผลิตชุดทดสอบคุณภาพน้ำแบบง่าย ที่เที่ยงตรง ใช้ง่ายสามารถทดสอบได้โดยไม่ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้สูง และประหยัด เพื่อให้ผู้เลี้ยงสัตว์น้ำสามารถตรวจวัดได้เอง
     ปัจจุบันหน่วยชีวเคมี ผลิตชุดตรวจคุณภาพน้ำ เป็นจำนวน 14 รายการ  ได้แก่ ชุดทดสอบความเป็นกรด-ด่าง (pH),  ชุดทดสอบ pH ปลาสวยงาม,  ชุดทดสอบความเป็นด่าง (Alkalinity), ชุดทดสอบแอมโมเนีย (Ammonium), ชุดทดสอบไนไตรต์ (Nitrite, NO2_), ชุดทดสอบแมกนีเซียม (Magnesium), ชุดทดสอบแคลเซียม (Calcium), ชุดทดสอบความกระด้าง (Total water hardness), ชุดทดสอบแมกนีเซียม แคลเซียม และ ความกระด้าง (Magnesium, Calcium and Total water hardness) ชุดทดสอบคลอรีน (Chlorine), ชุดทดสอบฟอสเฟต (Phosphate), ชุดทดสอบโปแตสเซียม (Potassium), ชุดทดสอบออกซิเจนที่ละลายน้ำ (Dissolved oxygen, D.O.) และ ชุดทดสอบ GH

วัตถุประสงค์

     1. เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่ วิสาหกิจชุมชน นิลม่วนใจ๋ อ.พาน จ.เชียงราย   
     2. เพื่อสร้างโอกาสและขยายโอกาส และยกระดับการเรียนรู้ ให้กับเกษตรกร ผู้เลี้ยงปลานิลและ นักเรียนในชุมชน

เป้าหมาย

     1. เกษตรกร ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ    
     2. หน่วยงานราชการท้องถิ่น
     3. คณะครูและ นักเรียน

ผู้รับผิดชอบโครงการ

     1. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์ 
     2. ผศ. น.สพ. ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล
     3. รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล
     4. ผศ. สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์
     5. อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา
     6. นางสาว สุจินต์ ศิริสวัสดิ์
     7. นางสาว นันทิดา คุณสุทธิ์
     8. นางสาว วราภรณ์ โชติสวัสดิ์
     9. นาง อภิญญา บินซัน

โครงการ บริการวิชาการ : ศูนย์เครื่องมือทางชีวเคมี

หลักการ

     เนื่องด้วยในหลายปีงบประมาณที่ผ่านมา หน่วยชีวเคมี ได้รับครุภัณฑ์ ที่มีความจำเป็นต่อการพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ หลายรายการ ซึ่งครุภัณฑ์เหล่านี้ สามารถใช้เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของภาควิชาอื่น ๆ ภายในคณะฯ โดยไม่คิดมูลค่า  หรือให้บริการต่อหน่วยงานนอกคณะ อีกทั้ง เพื่อเป็นการหารายได้ ในการบำรุงรักษาครุภัณฑ์เหล่านี้ ในเบื้องต้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงบประมาณของหน่วยชีวเคมี

วัตถุประสงค์

       เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายใน และภายนอก ของคณะสัตวแพทยศาสตร์
       1. เพื่อเผยแพร่ และถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
       2. เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเครื่องมือวิจัย

เป้าหมาย

       นิสิตและบุคลากรในคณะสัตวแพทย์    
       1. นิสิตและบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
       2. บุคลากรภายนอก บุคคลภายนอก

ผู้รับผิดชอบโครงการ

        1. ผศ. สพ.ญ. ดร. ศิรกานต์ ฐิตวัฒน์ 
        2. ผศ. น.สพ. ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล
        3. รศ. สพ.ญ. ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล
        4. ผศ. สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์
        5. อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา
        6. นางสาว สุจินต์ ศิริสวัสดิ์
        7. นางสาว นันทิดา คุณสุทธิ์
        8. นางสาว วราภรณ์ โชติสวัสดิ์
        9. นาง อภิญญา บินซัน

โครงการ บริการวิชาการ : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนาโน

หลักการ

     ปัจจุบัน นวัตกรรมระบบนําส่งด้วยนาโนเทคโนโลยี หรือ ตัวพาอนุภาคนาโน เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่า เป็นกุญแจสําคัญ ของการเพิ่มประสิทธิภาพ ของสารออกฤทธิ์สําคัญต่างๆ  ตัวพาอนุภาคนาโนนั้น สามารถจำแนกประเภทได้ตามวัตถุดิบตั้งต้นที่ใช้ในการเตรียม อนุภาคนาโนอินทรีย์ (organic nanoparticles) จะมีองค์ประกอบหลักเป็นสารอินทรีย์ หรือ สารชีวโมเลกุล ตัวอย่างเช่น อนุภาคนาโนไขมัน  ลิโพโซม หรือโพลีเมอร์ จากธรรมชาติ สำหรับอนุภาคนาโนอนินทรีย์ (inorganic nanoparticles) จะสังเคราะห์ขึ้นโดยใช้สารอนินทรีย์ เป็นองค์ประกอบหลัก เช่น อนุภาคนาโนของเงิน อนุภาคนาโนทองคำ ควอนตัมดอท เป็นต้น
     สำหรับการประยุกต์ใช้ในการนำส่งยา หรือสารสำคัญเข้าสู่ร่างกายนั้น อนุภาคนาโนอินทรีย์จะได้รับความนิยมมากกว่า เนื่องจากมีข้อได้เปรียบ ในเรื่องของความเข้ากัน กับเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต (biocompatibility) และความสามารถในการย่อยสลาย ได้ตามธรรมชาติ (biodegradability) มีความเป็นพิษ น้อยกว่า และปลอดภัยมากกว่า เมื่อเทียบกับอนุภาคนาโนอนินทรีย์ ที่หลายชนิด ในปัจจุบัน มีการรายงานถึงการตกค้างและความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต
     ในการนำส่งสารสำคัญ ผ่านทางผิวหนัง อนุภาคนาโนไขมัน มีข้อดี ในการนำส่งสารสำคัญ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงกว่า ระบบอื่นๆ กล่าวคือ อนุภาคนาโนไขมันจะช่วย ลดการสลายตัวของสารสำคัญ ที่อาจไวต่อแสง รวมถึงปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) และปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis) การเพิ่มพื้นที่ผิวของอนุภาค ที่สูงขึ้น ทำให้การยึดเกาะกับผิวหนังได้ดี และสามารถปกคลุมผิว เมื่อทาลงบนผิวหนัง และที่สำคัญ อนุภาคนาโนไขมัน ยังมีคุณสมบัติในการเพิ่มการแทรกผ่าน (penetration enhancer) ทำให้การซึมผ่านของสารสำคัญเพิ่มสูงขึ้น
     ในปัจจุบัน จึงได้มีการพัฒนาเครื่องสำอาง ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีการใส่สารสำคัญ ลงไปในผลิตภัณฑ์ เพื่อให้มีการออกฤทธิ์เชิงรักษา เรียกว่า "เวชสำอาง" อีกทั้ง ได้มีแนวทางการพัฒนา ตำรับเวชสำอาง ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ด้วยการใช้ระบบนำส่ง โดยเฉพาะ การใช้อนุภาคนาโน ในผลิตภัณฑ์เวชสำอางต่างๆ 
     ด้วยหน่วยชีวเคมี มีเทคโนโลยีในการผลิตอนุภาคนาโน ที่มีคุณสมบัติข้างต้น และได้รับอนุมัติทุนวิจัยสนับสนุน โครงการพัฒนา คุณค่างานประจำสู่งานวิจัย และนวัตกรรม  ประจำปี 2564  จากคณะสัตวแพทยศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เรื่อง สเปรย์สมุนไพรนาโน สูตรเย็น บรรเทาอาการปวดเมื่อย  เพื่อการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์ สเปรย์สมุนไพรนาโน สูตรเย็น เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อย คลายความเครียด และความกังวล จากอาการปวดเมื่อยที่เกิดจากการทำงานและจากภาวะออฟฟิศซินโดรมในเบื้องต้น จากทุนที่ได้รับในครั้งนี้ ได้ผลการศึกษาเป็นผลิตภัณฑ์ สเปรย์สมุนไพรนาโนสูตรเย็นบรรเทาอาการปวดเมื่อย ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผลิตด้วยเทคโนโลยีการกักเก็บ ระดับนาโน ที่ไม่ทำให้เกิดการระคายเคือง เพิ่มประสิทธิภาพการซึมผ่านผิวหนัง โดยไม่ทิ้งคราบมันบนผิว และไม่เหนียวเหนอะหนะ ทั้งยังเป็น การส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทย ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ที่หาได้ง่ายในประเทศไทย มีการจดอนุสิทธิบัตรเลขที่คำขอ  2103000910  อีกทั้ง  ได้รับรางวัลเหรียญทอง จากการประกวด  นวัตกรรมระดับนานาชาติ   Japan   Design,  Idea   and   Invention  Expo (JDIE)  ณ ประเทศญี่ปุ่น  และในขณะนี้ ได้จดทะเบียนกับองค์การอาหารและยา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงเห็นสมควรให้เกิดการต่อยอด จากการวิจัยสี่งาน นวัตกรรมและเกิดการใช้ประโยชน์จริง จึงใคร่ขอเปิดโครงการ บริการวิชาการผลิตภัณฑ์สมุนไพรนาโน เพื่อเป็นการนำร่องสำหรับการศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรนาโนของหน่วยชีวเคมีที่จะเกิดขึ้นต่อไป

วัตถุประสงค์

       1. เพื่อแสดงถึงระบบนิเวศนวัตกรรม ที่รองรับการพัฒนา ทางวิชาการและพัฒนาประเทศ   
       2. เพื่อขยายโอกาสสู่การเข้าถึงองค์ความรู้ ภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่า ออกสู่สาธารชนชาวไทย

เป้าหมาย

       บุคคลทั่วไป

ผู้รับผิดชอบโครงการ

        1. ผศ. สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์
        2. อ. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา
        3. นางสาว วราภรณ์ โชติสวัสดิ์
        4. นาง อภิญญา บินซัน

           

ข่าวสารและกิจกรรม

27ก.ย. 2566
ใหม่

งานอบรมเชิงปฏิบัติการ International Training on Aquaculture and Fisheries (ITAF2023) Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Thailand

International Training on Aquaculture and Fisheries (ITAF2023) Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Thailand
31พ.ค. 2566
ใหม่

ชุดทดสอบโพแทสเซียมได้รับรางวัลเหรียญทอง E-NNOVATE International Innovation Show 2023 ประเทศโปแลนด์ วันที่ 30-31 พ.ค. 2566

ชุดทดสอบโพแทสเซียมนี้ ผลิตขึ้นเพื่อการวัดโพแทสเซียมปริมาณน้อยๆ (15-200 ppm) โดยใช้หลักการวัดความขุ่น (Turbidimetric method) ซึ่งต่างจากหลักการวัดค่าเคมีทั่วๆไป หน่วยชีวเคมี นำโดย ร.ศ.นิคม ชัยศิริ ได้ประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ต่างๆขึ้น ให้สามารถวัดความขุ่นได้โดยสะดวกไม่ต้องใช้เครื่องมือราคาแพง เป็นที่นิยมใช้ในฟาร์มกุ้ง และชุดทดสอบโพแทสเซียมแบบนี้ยังไม่เคยมีการประดิษฐ์มาก่อนในประเทศไทย ได้รับรางวัลเหรียญทอง E-NNOVATE International Innovation Show 2023 ประเทศโปแลนด์ วันที่ 30-31 พ.ค. 2566 🌟ข้อมูลนักวิจัย🌟ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล ( หัวหน้าคณะวิจัย ) 🌟ผู้ร่วมวิจัย/นักประดิษฐ์🌟1. รศ.ดร. นิคม ชัยศิริ 2. ผศ.น.สพ.ดร. ทนง อัศวกาญจน์ 3. นางสาว สุจินต์ ศิริสวัสดิ์4. นางสาว นันทิดา คุณสุทธิ์
30พ.ค. 2566
ใหม่

พิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2565-2566 เมื่อวันที่ 30 พฤษาภาคม 2566

✨️💐 หน่วยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา  ร่วมแสดงความยินดีกับคณาจารย์ และบุคลากร ในพิธีมอบรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาฯ ประจำปี 2565 – 2566 เพื่อประกาศเกียรติคุณคณาจารย์ บุคลากร และนิสิต ที่มีผลงานดีเด่นในด้านต่างๆ โดยมี ศ.กิตติคุณ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภามหาวิทยาลัย และ ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี จุฬาฯ เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลและกล่าวแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัล ซึ่งในครั้งนี้มีคณาจารย์และบุคลากร หน่วยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัล จำนวน 3 ท่าน เมื่อวันอังคารที่ 30 พฤษภาคม 2566 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่  1 รศ.สพ.ญ.ดร.ศริยา อัศวกาญจน์  เข้ารับรางวัลทางด้านวิจัยและวิชาการระดับชาติและนานาชาติ 2 นางสาวราภรณ์ โชติสวัสดิ์  เข้ารับรางวัลทางด้านวิจัยและวิชาการระดับชาติและนานาชาติ 3 นางอภิญญา บินซัน เข้ารับรางวัลคนดีศรีจุฬาฯ
3เม.ย. 2566
ใหม่

พิธีมอบเกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติให้แก่ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2565 มื่อวันที่ 3 เมษายน 2566

ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานในพิธีมอบเกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติให้แก่ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2565 ในโครงการยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการ และบุคลากรของกระทรวง บุคลากรคณะสัตวแพทยศาสตร์ ผู้ที่ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นข้าราชการดีเด่น ประจำปี 2565 คือ นางอภิญญา บินซัน จากหน่วยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ  เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมภูมิบดินทร์ชั้น 6 อาคารสถานศึกษาเคมีปฏิบัติ กรมวิทยาศาสตร์บริการ โดยในปีนี้มีผู้ได้รับเกียรติบัตร "คนดีศรี อว." จำนวน 16 ราย และข้าราชการพลเรือนดีเด่น จำนวน 84 ราย
14ต.ค. 2565
ใหม่

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการบริการวิชาการตรวจคุณภาพน้ำแก่เกษตรกร

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการบริการวิชาการตรวจคุณภาพน้ำแก่เกษตรกร เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่ วิสาหกิจชุมชน นิลม่วนใจ๋ อ.พาน จ.เชียงราย (ณ วันที่ 14  ตุลาคม 2565)  ผลการดำเนินการ : สาธิตการใช้ชุดทดสอบคุณภาพน้ำและให้เกษตรกร ทดลองใช้ชุดทดสอบ 4 ชนิด                                     ตาม ความต้องการของเกษตรกร ได้แก่ ชุดทดสอบความเป็นกรด-ด่าง, ชุดทดสอบ                                     แอมโมเนีย, ชุดทดสอบไนไตรต์ และ ชุดทดสอบออกซิเจนที่ละลายน้ำ และ ประเมินผล จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ เกษตรกร ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 30 คน หน่วยงานราชการท้องถิ่น ได้แก่ อบต อำเภอพาน จำนวน 3 คน คณะครูและ นักเรียน โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม และโรงเรียนพานพิทยาคาม จำนวน 15 คน โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม     จำนวน 8  คน  โรงเรียนพานพิทยาคาม      จำนวน  7 คน    การประเมินผลของโครงการ     -  แก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำเลี้ยงสัตว์ให้กับเกษตรกร     -  สามารถพัฒนางานวิจัยเกี่ยวข้องกับการตรวจคุณภาพน้ำ และการผลิตชุดทดสอบแบบอื่นๆตามความต้องการของเกษตรกรหรือสังคม

ที่ตั้ง

หน่วยชีวเคมี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

         39 ถ.อังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กทม.

ติดต่อเจ้าหน้าที่

Social Network