Human Resources Unit
Human Resources Unit
Annual Health Check-up
Annual Health Check-up
• Health Checklist (According to the Comptroller General's Department) and additional health check-up fees (at own expense)
• Additional health check-up list for those who wish to check other than those specified by the Ministry of Finance.
• Advice for preparing for the annual health check.
Person eligible for service
• Government officer
• Government pensioners/Civil servants changing their status (still working at Chulalongkorn University)
• Employees annual budget money.
• Permanent employees with money outside the state budget.
• University staff
• Various temporary workers (pay for the inspection service yourself)
• Extraordinary staff (Pay for the service fee yourself)
• If unable to attend the examination according to the schedule of the agency. able to get tested On another day, there is an inspection.
• For personnel working in other provinces. and are eligible for annual health check-up welfare, can
undergo a medical examination in a public health facility The money must be reserved first and the agency will collect the receipts.
Receive money that specifies inspection items, inspection codes and inspection fees. sent to the Welfare Department for review.
and coordinate withdrawals /paid to the Office of Treasury Management accounting and supplies
(can be disbursed only for examination items according to the criteria of the Ministry of Finance only)
(Circular annual health check-up for personnel working in other provinces)
Regulations / Announcements / Circulars
• An order to amend the rules for reimbursing annual health check-up fees. List of chest x-ray examination fees
• Announcement to amend and rehearse the understanding of public health service rates to be used for reimbursement
of medical expenses.
• Circular Public Health Service Rates to be used for reimbursement of medical expenses in government hospitals.
• Circular Public Health Service Rates for Reimbursement of Medical Expenses in a Hospital
• Circular Use of collective receipts as evidence for reimbursement of annual health check-up fees
• Memorandum on request to publicize the annual health check-up schedule for personnel. Fiscal Year 2022 No. 64.2.9/3116 ,
28 Dec. '21
• Memorandum on request to postpone the annual health check-up schedule of the executives. Fiscal Year 2022 No. 64.2.9/0050 ,
7 Jan. 22
• Memorandum on request to postpone the annual health check-up schedule of the executives. Fiscal Year 2022 No. 64.2.9/0189 ,
26 Jan. 22
• Memorandum on the announcement of registration for gynecological examination for personnel wishing to
perform gynecological examination. (additional round) No. 64.2.9/0532 , 8 Mar. 2022
• Memorandum on the process of receiving health check-up reports No. 64.2.62/00153, 25 Mar. '22
Contact us for more details :
Ms. Montha Pitak E-mail: monta.p@chula.ac.th Tel. 02-218-0365
Group Health Insurance
Group Health Insurance
ผู้ที่มีสิทธิเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ ประกอบด้วย
-
สมาชิกหลัก
- สมาชิกประเภท 1 ได้แก่ พนักงานมหาวิทยาลัยหมวดเงินอุดหนุน และ พนักงานมหาวิทยาลัยหมวดเงินรายได้
- สมาชิกประเภท 2 ได้แก่ พนักงานมหาวิทยาลัยที่เปลี่ยนสถานภาพมาจากข้าราชการ
- สมาชิกประเภท 3 ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำเงินงบประมาณแผ่นดิน ลูกจ้างประจำเงินนอกงบประมาณแผ่นดิน และลูกจ้าง/พนักงานอื่นๆ
- สมาชิกประเภท 4 ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยที่เกษียณอายุ (และยังคงเป็นสมาชิกหลักต่อเนื่องตั้งแต่วันที่เกษียณอายุมาโดยตลอด และอายุไม่เกิน 80 ปีบริบูรณ์ ณ วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับ)
-
สมาชิกสมทบ
-
สมาชิกประเภท ค1 ได้แก่ บิดา มารดา คู่สมรสที่มีอายุไม่เกิน 80 ปี กรณีที่เป็นสมาชิกก่อนอายุ 70 ปี และยังคงเป็นสมาชิกต่อเนื่องมาโดยตลอด ส่วนสมาชิกที่ไม่เคย เข้าร่วมโครงการฯ จะต้องมีอายุไม่เกิน 70 ปี สำหรับบุตร จะต้องเป็นบุคคลที่ยังไม่ได้สมรสและไม่ได้ทำงานมีอายุระหว่าง 14 วัน ถึง 21 ปี หากกำลังศึกษาอยู่จะต้องมีอายุ ไม่เกิน 23 ปี ในกรณีที่บุตรที่มีอายุนอกเหนือจาก 2.1 ให้ไปใช้สิทธิใน 2.2 แทน
- สมาชิกประเภท ค2 ได้แก่ บุคคลอื่นที่สมาชิกหลักประสงค์สมัครให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการฯ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสมาชิกหลักที่เกี่ยวข้องเป็นญาติตามสายโลหิต ได้แก่ ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้าอา พี่น้อง หลาน บุตรที่มีอายุนอกเหนือจากข้อ 2.1 และคู่ชีวิต (คู่ชีวิตที่เป็นเพศเดียวกัน) มีอายุไม่เกิน 80 ปี กรณีที่เป็นสมาชิกก่อนอายุ 70 ปี และยังคงเป็นสมาชิกต่อเนื่องมาโดยตลอด หากยังไม่เคยเป็นสมาชิกมาก่อนจะต้องมีอายุไม่เกิน 70 ปี โดยบุคลากรประสงค์สมัครให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการฯได้ 1 สิทธิ และได้รับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย เท่านั้น
-
หนังสือเวียน
.
รายละเอียดการกรอกข้อมูลเพื่อสมัครเป็นสมาชิกโครงการประกันสุขภาพแบบกลุ่มฯ
สมาชิกต่อเนื่อง (สมาชิกเดิม)
- สมาชิกหลัก สมาชิกประเภท 1 กรอกเอกสาร ดังนี้
- แบบฟอร์ม A ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่ม (แบบฟอร์มที่ไม่มีคำถามสุขภาพ)
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- สมาชิกหลัก สมาชิกประเภท 2 กรอกเอกสาร ดังนี้
- สมาชิกหลัก (สมาชิกประเภท 3, สมาชิกประเภท 4) และสมาชิกสมทบ (สมาชิกประเภท ค1) ดำเนินการดังนี้
- กรอกแบบฟอร์ม A ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่ม (แบบฟอร์มที่ไม่มีคำถามสุขภาพ)
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- หากต้องการยื่นลดหย่อนภาษี ให้กรอกแบบฟอร์ม B ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่มฯ (ชนิดมีคำถามสุขภาพ) แบบเพิ่มการใช้สิทธิ์ยกเว้นภาษี โดยไม่ต้องตอบคำถามสุขภาพในส่วนที่ 3 พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาใบสูติบัตร ด้วย
สมาชิกใหม่ (ไม่เป็นสมาชิกโครงการฯในปีก่อนหน้า)
- สมาชิกหลัก สมาชิกประเภท 1 กรอกเอกสาร ดังนี้
- แบบฟอร์ม A ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่ม (แบบฟอร์มที่ไม่มีคำถามสุขภาพ)
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- สมาชิกหลัก (สมาชิกประเภท 3, สมาชิกประเภท 4) และสมาชิกสมทบ (สมาชิกประเภท ค1) กรอกเอกสารดังนี้
- แบบฟอร์ม B ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่มฯ (ชนิดมีคำถามสุขภาพ) แบบเพิ่มการใช้สิทธิ์ยกเว้นภาษี
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- แนบสำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาใบสูติบัตร
สมาชิกประเภท ค2 (บุคลากร 1 คน ได้รับ 1 สิทธิ) ดำเนินการดังนี้
- กรอกบันทึกข้อความ เอกสารรับรองความสัมพันธ์บุคคลอื่นและหนังสือให้ความยินยอม
- กรอกแบบฟอร์ม B ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่มฯ (ชนิดมีคำถามสุขภาพ) แบบเพิ่มการใช้สิทธิ์ยกเว้นภาษี
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- แนบสำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาใบสูติบัตร
- เอกสารในข้อ 1 ปะหน้าซอง ส่วนเอกสารข้อ 2 -4 (ใส่ซองปิดผนึก) ส่งให้เจ้าหน้าที่ของส่วนงานเพื่อรวบรวมส่งมายังสบม.เพื่อให้ทางมหาวิทยาลัยอนุมัติต่อไป
แบบฟอร์มสำหรับกรอกข้อมูลและสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการฯ ดังนี้
- คำชี้แจงการกรอกข้อมูลของสมาชิกโครงการประกัน
- แบบฟอร์ม A ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่ม (แบบฟอร์มที่ไม่มีคำถามสุขภาพ) (ตัวอย่าง)
- แบบฟอร์ม B ใบคำขอเอาประกันภัยกลุ่มฯ (ชนิดมีคำถามสุขภาพ) แบบเพิ่มการใช้สิทธิ์ยกเว้นภาษี (ตัวอย่าง)
- ตารางผลประโยชน์และเบี้ยประกันภัย (สำหรับเลือกแผน)
- เอกสารรับรองความสัมพันธ์บุคคลอื่นและหนังสือให้ความยินยอม
Medical Compensation for Work-related Accidents
Medical fee (Government Official / Permanent Employees)
Chulalongkorn University Demonstration Elementary and Secondary School
Requesting An Academic Position
EPM Applying for that academic position It has been set up to be under the supervision of the Office of Graduate Affairs.
(Formerly Faculty Affairs Department), which is an agency who report directly to the Faculty of Graduate Studies in
affairs related to academic placement Responsibilities in secretarial work, coordination and support the operations of
the Faculty of Witnesses Including any other activities as assigned by the council university
Get to know the Faculty of Wutthayachan (Wor Jor.)
"Faculty of Wutthayachan" is a new term that appears in the Chulalongkorn University Act of 2008.
It is a compound word between the words "qualified" and "professor", which means a group of teachers with qualifications and seniority.
Faculty of Wutthayachan is a committee appointed by the University Council. in order to consider entering
academic position on behalf of the University's Academic Rank Committee (OCSC) which was appointed in
accordance with the Announcement of the Civil Service Commission on the criteria and procedures for
considering the appointment of persons assistant professor position Associate Professor and professors in 2006
according to the faculty structure Wutthayachan is under the university council. making the work of the faculty
members independent from management with the following components
1. Honorary member of the University Council who is a professor as the chairman.
2. 10 external experts who are professors as members
come from
• Health Sciences 3 persons,
• Science and Technology 3 persons,
• Social Sciences 2 people and
• Humanities 2 persons
3. One of the vice presidents acts as secretary.
4. One or two assistant secretaries
คณะวุฒยาจารย์เป็นคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยสภามหาวิทยาลัย เพื่อทำหน้าที่พิจารณาการเข้าสู่
ตำแหน่งทางวิชาการ แทนคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัย (ก.พ.ว.)
ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรง
ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2549 ตามโครงสร้างคณะ
วุฒยาจารย์ อยู่ภายใต้สภามหาวิทยาลัย ทำให้การทำงานของคณะวุฒยาจารย์มีความเป็นอิสระจาก
ฝ่ายบริหาร
โดยมีองค์ประกอบดังนี้
1. กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เป็นประธาน
2. ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นบุคคลภายนอกซึ่งดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์จำนวน 10 คนเป็นกรรมการ
มาจาก
• สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3 คน,
• สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 3 คน,
• สาขาสังคมศาสตร์ 2 คน และ
• สาขามนุษยศาสตร์ 2 คน
3. รองอธิการบดีคนหนึ่งทำหน้าที่เลขานุการ
4. ผู้ช่วยเลขานุการหนึ่งหรือสองคน
ประวัติโดยสังเขป
ปี ข้อมูล
-----------------------------------------------------------------------
ก่อน 1 ต.ค. 2549 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย (ก.ม.) กำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รอง
ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ โดยมอบอำนาจให้ มหาวิทยาลัยดำเนินการ
เฉพาะระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ ส่วนระดับศาสตราจารย์
ก.ม. เป็นผู้ดำเนินการ
-----------------------------------------------------------------------
ปี พ.ศ. 2544 สภามหาวิทยาลัยออกข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการแต่งตั้ง
อาจารย์มหาวิทยาลัยเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ พ.ศ. 2544
สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ที่จะขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วย
ศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์
-----------------------------------------------------------------------
ปี พ.ศ. 2548 สภามหาวิทยาลัยออกประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่องหลักเกณฑ์และ
วิธีการพิจารณา ให้พนักงานมหาวิทยาลัยเข้าสู่ตำแหน่งศาสตราจารย์ พ.ศ.
2548 สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ที่จะขอกำหนดตำแหน่ง
ศาสตราจารย์
-----------------------------------------------------------------------
ปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ได้ออก
ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้
ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์
พ.ศ. 2549 มอบอำนาจให้สภามหาวิทยาเป็นผู้รับผิดชอบการพิจารณา
กำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยทุกระดับ
-----------------------------------------------------------------------
28 ก.ค. 2549 สภามหาวิทยาลัยออกข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการกำหนด
ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549 ใช้สำหรับ
ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ โดยได้แต่งตั้งคณะ
กรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัย (ก.พ.ว.) เพื่อทำ
หน้าที่พิจารณาการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการก่อนเสนอสภามหาวิทยาลัย
-----------------------------------------------------------------------
25 พ.ย. 2553 คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัย (ก.พ.ว.)
ได้เปลี่ยนชื่อเป็น คณะวุฒยาจารย์ (วจ.) ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551
-----------------------------------------------------------------------
28 ก.พ. 2556 สภามหาวิทยาลัยออกข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการแบ่ง
หน่วยงานภายในสำนักงานสภามหาวิทยาลัย พ.ศ. 2556 ให้สำนักงาน
สภามหาวิทยาลัยแบ่งหน่วยงานภายใน โดย "ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์"
ได้เปลี่ยนชื่อเป็น " สำนักกิจการวุฒยาจารย์" เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อ
คณะวุฒยาจารย์ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
มีภาระหน้าที่ในงานเลขานุการกิจ การประสานงานและสนับสนุนการดำเนิน
งานของคณะวุฒยาจารย์ รวมทั้งการอื่นใด ตามที่ได้รับมอบหมายจากสภา
มหาวิทยาลัย
คณะวุฒยาจารย์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.จรวย บุญยุบล
ตำแหน่ง ประธานคณะวุฒยาจารย์ |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ดร.จิตร สิทธีอมร
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ และวิทยาลัย วิทยาศาสตร์สาธารณสุข |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะสัตวแพทย ศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมบัติ กาญจนกิจ
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์ การกีฬาและคณะพยาบาลศาสตร์ และสำนักวิชา ทรัพยากรการเกษตร |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ สถาบันวิจัยพลังงาน และสถาบันการขนส่ง |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี สถาบันวิจัยเทคโนโลยี ชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ และสถาบันวิจัยทรัพยากร ทางน้ำ |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สุจิต บุญบงการ
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาสังคมสงเคราะห์
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ และสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจ ศศินทร์ |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.อมรา พงศาพิชญ์
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะจิตวิทยา สถาบัน วิจัยสังคม วิทยาลัยประชากรศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และสถาบันเอเชียศึกษา |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะนิเทศศาสตร์ และ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
ตำแหน่ง กรรมการวุฒยาจารย์กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์
ประธานคณะอนุวุฒยาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ สถาบันภาษา และสถาบันไทยศึกษา |
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล
ตำแหน่ง เลขานุการคณะวุฒยาจารย์
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย
ตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขานุการคณะวุฒยาจารย์
|
นางสาวนัทชา ปรีชาวัฒนสกุล
ตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขานุการคณะวุฒยาจารย์
|
สำนักกิจการวุฒยาจารย์
สำนักกิจการวุฒยาจารย์เป็นส่วนงานภายใต้สำนักงานสภามหาวิทยาลัย แต่ขึ้นตรงต่อคณะวุฒยา-
จารย์ทำหน้าที่รับผิดชอบ ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับงานเลขานุการกิจ การประสานงานและสนับสนุน
การดำเนินงานของ คณะวุฒยาจารย์ รวมทั้งการอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากสภามหาวิทยาลัย
มีบุคลากรจำนวน 8 คน
นางสาวนัทชา ปรีชาวัฒนกุล
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ |
นางสาวภัคจิรา กุลดิลกสัมพันธ์
ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มภารกิจตรวจสอบงานตำแหน่งวิชาการ สายวิทยาศาสตร์
|
นางสาวคุณาสิริ เกตุปมา
ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มภารกิจตรวจสอบงานตำแหน่งวิชาการ สายสังคมศาสตร์/
มนุษยศาสตร์/นักวิจัย/ อาจารย์สอนภาษาต่างประเทศ และสารสนเทศ |
นางชิษณุชา จั่นวงษ์
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน
|
นางสาววลัยลักษณ์ หอมชิต
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน
|
นางสาวอารยา สนโต
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน
|
นางสาวปรมาภรณ์ เนียมกุลรักษ์
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน
|
นางสาวเมธาวี คิดเห็น
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
|
คณะอนุวุฒยาจารย์ประจำส่วนงาน (อ.วจ.)
คณะอนุวุฒยาจารย์ประจำส่วนงาน (อ.วจ.) ไม่ใช่คณะกรรมการผู้ประเมินผลงานทางวิชาการตาม
ประกาศ ก.พ.อ. แต่เป็นคณะอนุกรรมการซึ่งแต่งตั้งโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อทำหน้าที่
ช่วยกลั่นกรอง สรุปเรื่องและเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการต่อคณะ
วุฒยาจารย์ (วจ.) โดยมีองค์ประกอบดังนี้
1. กรรมการวุฒยาจารย์ 1 คน เป็นประธาน (ตามกลุ่มสาขาวิชา)
2. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยตำแหน่งศาสตราจารย์ซึ่งอยู่ในบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ
ของ ก.พ.อ. จำนวน 3 – 5 คน เป็นอนุกรรมการ
3. คณบดี/ผู้อำนวยการเป็นเลขานุการ
การแบ่งส่วนงานตามกลุ่มสาขา
1. สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2. สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี |
1. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
1. คณะวิทยาศาสตร์ |
3. สาขาสังคมศาสตร์ | 4. สาขามนุษยศาสตร์ |
1. คณะจิตวิทยา |
1. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ทำหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณ
ทางวิชาการ คณะวุฒยาจารย์จะเลือกผู้ทรงคุณวุฒิและแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อ
ทำหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการ และจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการในสาขาวิชาที่มี
ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง โดยให้คณะอนุวุฒยาจารย์คัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิจากบัญชีรายชื่อของคณะ
วุฒยาจารย์ แล้วส่งให้คณะวุฒยาจารย์เพื่อพิจารณา
ตำแหน่ง วิธี คณะกรรมการ
-----------------------------------------------------------------------
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปกติ - กรรมการวุฒยาจารย์ 1 คน เป็นประธาน (ตามกลุ่มสาขา)
รองศาสตราจารย์ (วิธีที่ 1 / วิธีที่ 2) - ผู้ทรงคุณวุฒิฯภายนอกมหาวิทยาลัย ∗ จำนวน 3 คน
เป็นกรรมการ
- คณบดี/ผู้อำนวยการเป็นเลขานุการ
----------------------------------------------------
พิเศษ - กรรมการวุฒยาจารย์ 1 คน เป็นประธาน (ตามกลุ่มสาขา)
- ผู้ทรงคุณวุฒิฯภายนอกมหาวิทยาลัย ∗ จำนวน 5 คน
เป็นกรรมการ
- คณบดี/ผู้อำนวยการเป็นเลขานุการ
-----------------------------------------------------------------------
ศาสตราจารย์ ปกติ - กรรมการวุฒยาจารย์ 1 คน เป็นประธาน (ตามกลุ่มสาขา)
(วิธีที่ 1 / วิธีที่ 2) - ผู้ทรงคุณวุฒิฯภายนอกมหาวิทยาลัย ∗ จำนวน 3 คน
เป็นกรรมการ
- ผู้อำนวยการสำนักกิจการวุฒยาจารย์เป็นเลขานุการ
----------------------------------------------------
พิเศษ - กรรมการวุฒยาจารย์ 1 คน เป็นประธาน (ตามกลุ่มสาขา)
- ผู้ทรงคุณวุฒิฯภายนอกมหาวิทยาลัย ∗ จำนวน 5 คน
เป็นกรรมการ
- ผู้อำนวยการสำนักกิจการวุฒยาจารย์เป็นเลขานุการ
----------------------------------------------------
∗ หมายถึง อาจารย์เกษียณจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหรืออาจารย์จากมหาวิทยาลัยอื่นโดยปกติจะมี
สัดส่วน 1:2 (ในจำนวนผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน) 2:5 (ในจำนวนผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน)
Regulations, Announcements
คำอธิบาย ข้อบังคับ และประกาศ
1. ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ประกาศคณะวุฒยาจารย์
4. ประกาศ / หนังสือเวียน ก.พ.อ.
Form
Applying For a Position Of Specialization At The Beginning, Middle, and High Level
EPMProfessional, Senior Professional, and Expert Level (Employee)
ข้อบังคับ (Rules) / ระเบียบ (Regulation) / ประกาศ (Announcement)
- ระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนสัญญาปฏิบัติงานและการปรับเงินเดือนและเงินค่าตอบแทนประจำตำแหน่งของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ กลุ่มอาจารย์สาธิตที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น พ.ศ. 2562
- ระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนสัญญาปฏิบัติงานและการปรับเงินเดือนและเงินค่าตอบแทนประจำตำแหน่งของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ กลุ่มอาจารย์สอนภาษาต่างประเทศที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น
พ.ศ. 2562 - ระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนสัญญาปฏิบัติงานและการปรับเงินเดือนและเงินค่าตอบแทนประจำตำแหน่งของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการการ กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น
พ.ศ. 2562 - ระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปลี่ยนสัญญาปฏิบัติงานและการปรับเงินเดือนและ ค่าตำแหน่งทางวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ทางวิชาการที่สูงขึ้น พ.ศ.2560
- ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์สาธิตชำนาญการ อาจารย์สาธิตเชี่ยวชาญ หรือ อาจารย์สาธิตเชี่ยวชาญพิเศษ พ.ศ. 2555
- ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานสายวิชาการกลุ่มนักวิจัย พ.ศ.2558
- ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ทุนการศึกษาปริญญาโทและประกาศนียบัตรบัณฑิตสำหรับบุคลากรสายปฏิบัติการกองทุนเพื่อการพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2556
ความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ
- เอกสารชี้แจง Template แบบเสนอแผนกรอบอัตราเชี่ยวชาญของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ ปี 2561-2565
- เอกสารชี้แจงการจัดทำใบรับรองด้านวิชาชีพภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เอกสารชี้แจงขั้นตอนการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการระดับ P7
- การกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการกลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ ระดับ P7
- คลินิกเข้ารับการปรึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ เชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง
- Powerpoint การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ ระดับ P7
- Powerpoint มุมมอง เกณฑ์ การประเมินผลงานของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ เพื่อการดำรงตำแหน่ง เชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง เชี่ยวชาญระดับสูง
-
ข้อบังคับ (Rules) / ระเบียบ (Regulation) / ประกาศ (Announcement)
- ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการแต่งตั้งให้พนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการกลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง พ.ศ. 2558
- ประกาศจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่องผลงานและลักษณะผลงาน วิธีการเผยแพร่ และลักษณะคุณภาพของผลงาน ที่ใช้ขอกําหนดตําแหน่ง เชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูงของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ พ.ศ. 2560
แบบฟอร์ม (Form)
- Template แบบเสนอแผนกรอบอัตราเชี่ยวชาญของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ
- สัญญาปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย (กรณีรอผลการพิจารณาการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น) พม 40
- สัญญาปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย (กรณีรอผลการพิจารณาการยื่นขอทบทวนผลงานทางวิชาการ) พม. 42
- การกำหนดกรอบอัตราตำแหน่งและประเมินค่างาน
- การเข้าสู่ตำแหน่งของพนักงานมหาวิทยาลัย
- แบบประวัติส่วนตัวและผลงานเพื่อเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง
- แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงาน
- แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
- แบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง พนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ
หนังสือเวียน (Circular Notice)
ปี 2564
- ขอติดตามความคืบหน้าแผนการดำเนินงานกรอบอัตราเชี่ยวชาญของพนักมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ
- ชี้แจงแนวปฏิบัติการต่อสัญญาปฏิบัติงานพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ เป็นกรณีพิเศษ (กรณีอยู่ระหว่างการยื่นอุทธรณ์ขอทบทวนผลการพิจารณาผลงานทางวิชาการ)
ปี 2561
- โครงการยกระดับพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ ระดับ P8 ที่มีศักยภาพให้เข้าสู่ระดับ P7 โดยใช้กรอบอัตราเลขที่เดิมที่ครองอยู่
- การจัดทำแผนกรอบอัตราเชี่ยวชาญของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ ปี 2561 – 2565
ปี 2560
ปี 2558
ปี 2557
ปี 2556
- การปรับเปลี่ยนระดับให้สูงขึ้นของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ จากระดับ P8 เข้าสู่ระดับ P7A จากผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนงาน/หน่วยงาน หน่วยงาน โดยใช้กรอบอัตราเลขที่เดิมที่ครองอยู่สิ่งที่ส่งมาด้วย :
- หลัก เกณฑ์การสรรหาและคัดเลือก พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ ระดับ P8 เข้าสู่ระดับ P7A เฉพาะกรณีสรรหาจากผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนงาน/หน่วยงาน โดยใช้กรอบอัตราเลขที่เดิมที่ครองอยู่
- ผังกระบวนการสรรหาและคัดเลือก พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ ระดับ P8 เข้าสู่ระดับ P7A
- แบบเสนอชื่อการขอปรับเปลี่ยนระดับให้สูงขึ้นของ พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ จากระดับ P8 เข้าสู่ระดับ P7A
- แบบสรุปรายชื่อการเสนอขอปรับเปลี่ยนระดับให้สูงขึ้นของ พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ จากระดับ P8 เข้าสู่ระดับ P7A
ปี 2549
ปี 2548
Applying for a Position Of Expertise Level
EPMProfessional, Senior Professional, and Expert Level (Government Official)
ขอตำแหน่งที่สูงขึ้น /การเปลี่ยนตำแหน่ง/การตัดโอนตำแหน่ง
การขอตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
การเสนอขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
ให้บริการในงานเกี่ยวกับการเสนอขอกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ในระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญงานพิเศษระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษ
- ข้อบังคับ/ประกาศ/เอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วย การกำหนดระดับตำแหน่ง การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นการเปลี่ยนตำแหน่ง การเปลี่ยนระดับตำแหน่ง และการตัดโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555
- ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ วิธีการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการใหดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
- ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2553
- ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2553
- กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วย การกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2554
- หนังสือเรื่อง การปรับเงินเดือนข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาเข้าสู่บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงท้ายกฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2554 ที่ ศธ 0509(2)/ว6 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2554
- หนังสือเรื่อง ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนสำหรับการเลื่อนเงินเดือนในแต่ละประเภท และระดับตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่ปรับปรุงใหม่
- หนังสือเรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณสมบัติต่างไปจากคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ที่ ศธ 0509(2)/ว 1436 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553
- หนังสือเรื่อง การจัดตำแหน่งและการจัดข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาเข้าประเภทตำแหน่งสายงาน และระดับตำแหน่งตามระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ ที่ ศธ 0509(2)/ ว 1430 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553
- การประชุมชี้แจง เรื่องแนวทางการกำหนดตำแหน่งและจำนวนตำแหน่งที่จะให้ได้รับเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
- เอกสารแนบ
- แบบฟอรม์
- แบบวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อกำหนดตำแหน่ง (แบบ บค 06/1)
- แบบวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อกำหนดตำแหน่ง (แบบ บค 06/2)
- เอกสารแนบ 1 (แบบประเมินค่างานระดับชำนาญงานและชำนาญงานพิเศษ)
- เอกสารแนบ 2 (แบบประเมินค่างานระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ)
- เอกสารแนบ 3 (แบบประเมินค่างานระดับเชี่ยวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ)
- แบบประวัติส่วนตัวและผลงาน (แบบ บค 01)
- แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วม(แบบ บค.02)
- แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ(แบบ บค.03)
- แบบสรุปผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดที่ครองอยู่(แบบ บค.04)
- การขอเปลี่ยนตำแหน่งข้าราชการ
- ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการกำหนดระดับตำแหน่ง การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น การเปลี่ยนตำแหน่ง การเปลี่ยนระดับตำแหน่ง และการตัดโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2555
- ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการเปลี่ยนตำแหน่ง การเปลี่ยนระดับตำแหน่ง และการตัดโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553