About US

      

          The Department of Veterinary Public Health, faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University has responsibility in teaching, research and academic services with veterinary public health work is related to personal and animal hygiene and the country’s economy, such as zoonoses, food safety and environmental health, which  are  guideline  of  operations from the past to the present.

History of The Veterinary Public Health Department

          The Department of Veterinary Public Health, faculty of Veterinary  Science,  Chulalongkorn  University   is  the 9th department of the doctor of veterinary medicine program. Officially published in the Government Gazette, 106 vol., 218 section in December 12, 1989. At  that  time,  Assoc.  Prof.  Dr.  Kriengsag  Saitanu  had  been  on  duty  of  the  head of department until 1995. The veterinary public health work is related to personal and animal hygiene  and  the  country’s economy, such as zoonoses, food safety and environmental health, which are guideline of operations from  the  past  to the present. There are the head of the department in the follow.

 

List of name

Position

During the years

1

  Assoc.Prof.Dr. Kriengsag Saitanu

  On duty of the head of department

  B.C. 1989 - 1995

2

  Asst.Prof.Dr. Suthep Ruangwises

  The head of department

  26 Oct 1995 - 26 Oct 2003

3

  Asst.Prof.Dr. Benjamas Puttamalai

  The head of department

  27 Oct 2003 - 27 Oct 2007

4

  Assoc.Prof.Dr. Alongkorn Amonsin

  The head of department

  28 Oct 2007 - 30 Sep 2013

5

  Assoc.Prof.Dr. Rungtip Chuanchuen

  On duty of the head of department

  1 Oct 2013 - 30 Jan 2014

6

  Asst.Prof.Dr. Benjamas Puttamalai

  The head of department

  31 Jan 2014 - 30 Sep 2015

7

  Assoc.Prof.Dr. Rungtip Chuanchuen

  The head of department

    1 Oct 2015 - 27 Jan 2022

8

  Prof.Dr. Alongkorn Amonsin

  The head of department

  28 Jan 2022 to the present

 

Missions of the Department of Veterinary Public Health

       Department of Veterinary Public Health has a mission to transfer knowledge by organizing teaching to produce veterinary graduates and graduate students with academic excellence having morals and ethics as well as being able to respond to the needs of society with quality Pioneering and researching research to develop new knowledge that will effectively solve veterinary problems and increase livestock productivity. and is recognized nationally and internationally Providing efficient veterinary academic services and disseminate and exchange academic knowledge nationally and internationally with the following objectives:

         1. To produce graduates and senior scholars in the field of veterinary public health. to have thorough knowledge and abilities; to be able to think and Solving  problems  with  quality,  morality,  ethics,  and  potential  in self development and build a reputation for the institute National and International.

         2. To produce and develop research to create new knowledge in veterinary public health for research and technology development the modern is useful for teaching and learning and solving veterinary problems.

         3. To continuously produce academic works and academic services Pioneering academic work research in veterinary public health at quality for society Including consulting, training, organizing academic conferences and academic information publicity for the benefit of society and the nation.

Roles and responsibilities of the Department of Veterinary Public Health

         1. Producing graduates with knowledge, competency and efficiency in veterinary public health. By aiming at producing veterinary graduates at the bachelor's level, which is a fundamental role, also producing graduate studies in the Master of Science and Doctor of Science programs. Department of Veterinary Public Health To have knowledge and competency at a higher level able to generate new knowledge in the field of Veterinary Public Health.

         2. Research in veterinary public health It is an important role and function of the department. Because the work in veterinary public health is closely related to other fields. And there are still changes and developments continuously. In order to produce quality graduates to serve society, it is necessary to be rooted in research, where personnel in the department have a role in continuous research and development of professional and social activities. In addition, the department also has a role and responsibility to solve problems in animal production and export of animal products to keep up with current events, such as research on the outbreak of the avian influenza virus. Research on antimicrobial resistance from the use of antimicrobials in animal production for consumption Research on Chemical Risk Assessment and Pathogenic Microorganisms in Food and Animal Products Research on waste and environmental management from livestock farms and research on emerging and re-emerging diseases in animals, etc.

         3. Academic service The department focuses on solving various problems that arise in society related to  public health veterinary work. This academic service work is well aligned with other roles and functions as well due to the ability to solve such problems. As a result, the department  uses  connected  data  as research. And to combine it into a new body of knowledge to produce graduates who are aware of current social problems.


          Therefore, it can be seen that both the roles and duties of the Department of Veterinary Public Health from the beginning to the present have not changed, but instead become increasingly important, respectively, from  taking responsibility for the health of people and animals and the country's economy. Production of animals  and  animal products for domestic consumption to the international export level It brings good health to the people  and  good economy of Thailand.

 

Staff

Research Results




Professor Dr. Alongkorn Amonsin
(D.V.M., Ph.D.)

Professor Dr.
Alongkorn Amonsin

Head of Department

Email : Alongkorn.A@chula.ac.th

Phone Number : 022189571

Research Results




Professor Dr. Rungtip Chuanchuen
(D.V.M., M.S., Ph.D.)

Professor Dr.
Rungtip Chuanchuen

Lecturer

Email : Rungtip.C@chula.ac.th

Phone Number : 022189575

Research Results




Assoc. Prof. Dr. Suphachai Nuanualsuwan
(D.V.M., M.P.V.M., Ph.D.)

Associate Professor Dr.
Suphachai Nuanualsuwan

Lecturer

Email : Suphachai.N@chula.ac.th

Phone Number : 022189578

Research Results




Asst. Prof. Dr. Taradon Luangtongkum
(D.V.M., Ph.D.)

Assistant Professor Dr.
Taradon Luangtongkum

Lecturer

Email : Taradon.L@chula.ac.th

Phone Number : 022189574

Research Results




Asst. Prof.
 Dr. Saharuetai Jeamsripong
(D.V.M., M.P.V.M., Ph.D.)

Assistant Professor Dr.
Saharuetai Jeamsripong

Lecturer

Email : Saharuetai.j@chula.ac.th

Phone Number : 022189579

Research Results




Dr. Sirawit Pagdepanichkit
(D.V.M., L.L.B., Ph.D.)

Dr.
Sirawit Pagdepanichkit

Lecturer

Email : Sirawit.P@chula.ac.th

Phone Number : 022189580

Research Results




Dr. Kamonphan Charoenkul
(D.V.M., Ph.D.)

Researech Results




Worrayanee Thammatorn
(D.V.M.)

Karanyaporn Srisakda

(Administration P7)

Karanyaporn
Srisakda

Administration

Email : Karanyaporn.S@chula.ac.th

Phone Number : 022189598

Suwanee Chalermchainukul

(Scientist P7)

Suwanee
Chalermchainukul

Scientist

Email : Suwanee.C@chula.ac.th

Phone Number : 022189597

Nawaphorn Roongrojmongkhon

(Scientist P7)

Nawaphorn
Roongrojmongkhon

Scientist

Email : Nawaphorn.R@chula.ac.th

Phone Number : 022189572

Adisorn Sungkato

(Staff)

Courses

Doctor of Veterinary Medicine Program

 

  Courses

  Code  

17 credits

1

  Principles of Veterinary Public Health

3109301

1

2

  Food Safety

3109401

3

3

  Veterinary Environmental Health

3109403

2

4

  Food Industry and Quality Control

3109501

1

5

  One Health in Veterinary Public Health

3109502

1

6

  Milk Hygiene and Meat Inspection

  3109503  

3

7

  Zoonoses

  3109504  

3

8

  Veterinary Public Health Practice

  3109606  

3

 

Master of Science Program
Master of Science Program (required courses)

 

Courses

Code

8 credits 

1

  Research Methodology in Veterinary Science

3100700

2

2

  Veterinary Epidemiology

3109701

3

3

  Seminar in Veterinary Public Health

3109702

1

4

  Laws and Regulations Related to Veterinary Public Health

3109703

2

5

 Thesis

3109813

3109816

S/U

 

Doctor of Philosophy Program
Doctor of Philosophy Program (required courses)

 

Courses

Code

9 credits

1

  Research Methodology in Veterinary

3100700

2

2

  Veterinary Epidemiology

3109701

3

3

  Seminar in Veterinary Public Health I

3109702

1

4

  Laws and Regulations Related to Veterinary Public Health

3109703

2

5

  Seminar in Veterinary Public Health II

3109724

1

6

  Dissertation

3109828

3109829

3109830

S/U

7

  Doctoral Dissertation Seminar

3109894

S/U

8

  Qualifying Examination

3109897

S/U

 

Master of Science Program and Doctor of Philosophy Program (elective courses)

 

Courses

Code

Credits

1

  Medical Statistics

3014707

2

2

  Zoonoses in Thailand and Southeast Asia

3109704

3

3

  Food Hygiene

3109706

2

4

  Special Topics in Veterinary Public Health

3109715

3

5

  Quantitative Microbial Risk Assessment

3109716

3

6

  Molecular Epidemiology in Veterinary Science

3109717

3

7

  Microbiology in Veterinary  Public Health

3109718

3

8

  Molecular Biology of Drug Resistance in Veterinary Science

3109719

3

9

  Advanced Quantitative Microbial Risk Assessment

3109720

3

10

  Bioinformatics in Veterinary Science

3109722

2

11

  Food Safety and Quality Control in Veterinary Public Health

3109725

3

12

  One Health Approach to Veterinary Public Health

3109726

3

 

มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสุข (หลักสูตรปรับปรุง 2560)

มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสุข (หลักสูตรปรับปรุง 2560)

มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสุข (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสุข (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

Research of Veterinary Public Health Department

                     

1. Emerging and Re-Emerging Infectious Diseases in Animals

          Research, surveillance and diagnostic studies with focusing on emerging and re-emerging infectious diseases in animals.

2. Microbial Food Safety and Antimicrobial Resistance

          Conducting research, monitor, surveillance and develop the databases of foodborne diseases and antimicrobial resistance in the country and the world regions.

3. Chemical and Foodborne Microbiological Risk Assessment

          Research on chemical andfoodborne microbiological risk assessment in food and animal products and develop food safety system for the country.

 

Microbiological quality testing service in raw milk and milk products

Microbiological quality testing service in raw milk and milk products

News and Activities

3Aug 2023
New

สัมมนาระดมความเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางสุขลักษณะที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์

สัมมนาระดมความเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางสุขลักษณะที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์ อาจารย์ น.สพ.ดร. สิรวิทย์ ภักดีพาณิชย์กิจ วันที่ 3 สิงหาคม 2566 นายพิศาล พงศาพิชณ์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นประธานเปิดการสัมมนารับฟังความคิดเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่องการปฏิบัติทางสุขลักษณะที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์ (ทบทวน) ณ ห้องประชุม มกอช. และผ่านระบบ Zoom Cloud Meeting โดยมีนายรักไทย งามภักดิ์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ เป็นประธานการอภิปราย และมีผู้แทนจากกรมปศุสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอุตสาหกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สมาคมโคเนื้อแห่งประเทศไทย สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย และ มกอช. ร่วมกันอภิปราย  
14Jun 2023
New

การแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39

การแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 ขอแสดงความยินดีกับคุณอดิศร สังฆโต ในโอกาสที่ได้รับรางวัล เหรียญทองแดงกีฬาสนุ้กเกอร์ ประเภทชายคู่ทั่วไป ในการแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 วันที่ 24 พ.ค. - 3 มิ.ย. 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
10Jun 2023
New

การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 2

การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 2   โดย รศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินรายการโดย รศ.น.สพ.ดร.จักรกริศน์ เนื่องจำนงค์ รับฟังได้ทางรายการสัตวแพทย์สนทนาทางสถานีวิทยุจุฬาฯ Chula Radio Plus FM 101.5 MHz. วันเสาร์ที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 9.05-9.30 น.   การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 2 - Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz
3Jun 2023
New

การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 1

การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 1   โดย รศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินรายการโดย รศ.น.สพ.ดร.จักรกริศน์ เนื่องจำนงค์ รับฟังได้ทางรายการสัตวแพทย์สนทนาทางสถานีวิทยุจุฬาฯ Chula Radio Plus FM 101.5 MHz. วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน 2566 เวลา 9.05-9.30 น.   การประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคแมลง ตอนที่ 1 - Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz
31May 2023
New

Guideline for risk assessment of antimicrobial resistance in food

Seminar brainstorming on the Thai agricultural commodity and food standard draft Guideline for risk assessment of antimicrobial resistance in food National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS) 31 May 2023, 8:30 AM - 5:00 PM   นายพิศาล พงศาพิชณ์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ได้เป็นประธานการอภิปรายการสัมมนาระดมความเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง แนวทางการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการดื้อยาต้านจุลชีพที่มาจากอาหาร ณ ห้องประชุม 351 อาคาร 3 ชั้น 5 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กรุงเทพฯ ร่วมกับรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายพิทักษ์ ชายสม ผู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานสุขอนามัยสัตว์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ได้กล่าวรายงานการสัมมนาระดมความเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร นางสาวคชาภรณ์ เต็มยอด ผู้แทนกรมปศุสัตว์ นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา นายดำเนิน จตุรวิธวงศ์ ผู้แทนสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และศาสตราจารย์รุ่งทิพย์ ชวนชื่น ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ร่วมเป็นผู้อภิปราย และมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานราชการ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมประชุม กรมควบคุมมลพิษกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้แทนจากภาคการศึกษา และผู้แทนภาคการผลิตที่เกี่ยวข้อง จำนวน 77 คน   การกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรดังกล่าวให้กรอบการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อสุขภาพมนุษย์ที่เกิดจากการดื้อยาต้านจุลชีพที่มาจากอาหาร อันเนื่องมาจากการใช้ยาต้านจุลชีพที่นอกเหนือจากการใช้ในมนุษย์ ทำให้มีข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำไปใช้ระบุประเด็นปัญหาของการดื้อยาต้านจุลชีพ และเลือกการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมถึงมีการสื่อสารระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตลอดโซ่อาหาร โดย มกอช. ได้ยกร่างมาตรฐานสินค้าเกษตรดังกล่าวจาก Guidelines for Risk Analysis of Foodborne Antimicrobial Resistance (CAC/GL 77- 2011) ของ Codex ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการลดความชุกและการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโซ่อาหารและสิ่งแวดล้อม รวมถึงปกป้องสุขภาพผู้บริโภค เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย และให้ประเทศไทยมีมาตรฐานด้านการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการดื้อยาต้านจุลชีพที่สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ     วันที่ 31... - สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ - มกอช. | Facebook
30May 2023
New

พิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2565-2566

พิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2565-2566 หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. รุ่งทิพย์ ชวนชื่น วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 9:00-12:00 น. ขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. รุ่งทิพย์ ชวนชื่น ในโอกาสที่ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ทำชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยโดยได้รับรางวัลทั้งในระดับชาติและนานาชาติทางด้านวิชาการและวิจัย                      ✨️💐 ศ.สพ.ญ.ดร.สันนิภา สุรทัตต์ คณบดี พร้อมทีมผู้บริหารมอบช่อดอกไม้ และของที่ระลึก 88 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมแสดงความยินดีกับคณาจารย์ และบุคลากร ในพิธีมอบรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาฯ ประจำปี 2565 – 2566 เพื่อประกาศเกียรติคุณคณาจารย์ บุคลากร และนิสิต ที่มีผลงานดีเด่นในด้านต่างๆ โดยมี ศ.กิตติคุณ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภามหาวิทยาลัย และ ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี จุฬาฯ เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลและกล่าวแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัล ซึ่งในครั้งนี้มีคณาจารย์และบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัลด้านต่างๆ จำนวน 18 ท่าน เมื่อวันอังคารที่ 30 พฤษภาคม 2566 ณ... - คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Faculty of Veterinary Science, CU. | Facebook
21Apr 2023
New

ร่างแนวทางการประเมินความเสี่ยงเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มาจากการบริโภคเนื้อสัตว์

ศ.สพ.ญ.ดร. รุ่งทิพย์ ชวนชื่น ร่างแนวทางการประเมินความเสี่ยงเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มาจากการบริโภคเนื้อสัตว์ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) วันศุกร์ที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 9:00-12:00 น. โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส ห้องจามจุรีบอลรูม B ชั้น M (on-site) แบบลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมระดมความคิดเห็น (google.com)
5Feb 2023
New

ปัญหาเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก

ศ.สพ.ญ.ดร. รุ่งทิพย์  ชวนชื่น อาจารย์ประจำภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข และ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ (ภายใต้ความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก) ปัญหาเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก สัตวแพทย์อาสา จส. 100 วันอาทิตย์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 8:15-8:40 น. https://www.youtube.com/watch?v=PFJyIvV5UlY
13Dec 2022
New

จับเนื้อเถื่อนอีกแล้ว...แช่ฟอร์มาลีน ชีวิตคนไทย...จะปลอดภัยได้อย่างไร

รศ.น.สพ.ดร. ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ จับเนื้อเถื่อนอีกแล้ว...แช่ฟอร์มาลีน ชีวิตคนไทย...จะปลอดภัยได้อย่างไร ที่นี่..สัตวแพทยสภา: สัตวแพทยสภา ประเทศไทย วันอังคาร 13 ธันวาคม 2565 เวลา 20:00-21:00 น. https://fb.watch/hoU4OuriAN/
10Sep 2022
New

โรค COVID-19 ติดต่อผ่านทางอาหารได้หรือไม่

รศ.น.สพ.ดร. ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ โรค COVID-19 ติดต่อผ่านทางอาหารได้หรือไม่ รายการสัตวแพทย์สนทนา Chula radio FM 101.5 MHz วันเสาร์ที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 9:05-9:30 น. โควิด-19 ติดจากอาหารได้หรือไม่ - Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz
3Sep 2022
New

การประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ จากการบริโภคหอยนางรมดิบ

รศ.น.สพ.ดร. ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ การประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ จากการบริโภคหอยนางรมดิบ รายการสัตวแพทย์สนทนา Chula radio FM 101.5 MHz วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 9:05-9:30 น. การประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบจากการบริโภคหอยนางรมดิบ - Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz
20Aug 2022
New

ไข้หูดับ การประเมินความเสี่ยงของเชื้อก่อโรคจากผลิตภัณฑ์สุกรในเขตภาคเหนือของประเทศไทย

รศ.น.สพ.ดร. ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ ไข้หูดับ การประเมินความเสี่ยงของเชื้อก่อโรคจากผลิตภัณฑ์สุกรในเขตภาคเหนือของประเทศไทย รายการสัตวแพทย์สนทนา Chula radio FM 101.5 MHz วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 9:05-9:30 น. https://www.youtube.com/watch?v=ue_mM5A6aFI&list=PL5uwh2DeRAxk-Tl043W-ZrL3WI6GFuq6N&index=1

Location

Veterinary Public Health department, faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Henri-Dunant Rd., Pathumwan, Bangkok 10330 Thailand

Contact Staff

Social Network